กระดาน
รีวิว
ตลาด
ประมูล
เปิดท้าย
เรือ
แหล่งตกปลา
ร้านค้า
ค้นหาข้อมูล
Login
สมัคร
26 พ.ย. 67
เหมาเตี๋ยว เคี้ยวหนู ดูปลาสุพรรณ 2: SiamFishing : Thailand Fishing Community
1
2
3
4
5
>
>>
กระดาน
คห. 152 อ่าน 41,483
เหมาเตี๋ยว เคี้ยวหนู ดูปลาสุพรรณ 2
POMBINTHAI
(40
)
1
ตั้ง: 22 ส.ค. 49, 10:56
ขอตั้งกระทู้ใหม่ดีกว่านะครับ ( ต่ออันเก่า รอรีเฟรชนาน )
หลังจากชมกุ้ง ดูห่อหมก เหล่สาวๆ คนเที่ยวพระราชวังฯ เรา ก็ออกเดินทาง จาก พระนครศรีอยุธยา กัน...
หลงบ้าง เลี้ยว ผิดบ้าง ตามสไตล์...
เราก็มาถึงที่นี่.....
คห.จก.
POMBINTHAI
(40
)
คห.1: 22 ส.ค. 49, 10:59
เลี้ยวซ้ายโลดดดดดดดดดดดดดดดด.......... เอี๊ยดดดดดดดดด .... ควั่บๆๆ
( เสียง เนรคุณ เอ้ย... เนวิเกเต้อ ตาเทียม บอกทาง...
)
jack11
(7
)
คห.2: 22 ส.ค. 49, 11:01
ตกลงเหมาเต๋วร้านไหนเนี่ย บอกด้วยนะ
POMBINTHAI
(40
)
คห.3: 22 ส.ค. 49, 11:03
จอดรถปุ๊บบ..
ก็เจอป้ายบอกสถานที่ทำการ บ่งบอกอายุสถานที่ก่อตั้ง...
( บอกแย้วงัย เหมาร้านใหญ่ ใต้ต้นไม้ เจ้าเดิมนั่นแหละ ยายแป๋ว เรือลำกะติ๊ดนึง ขายพอ ที่ไหนหล่ะ..
ขายน้าต่วย ได้คนเดียว..
)
POMBINTHAI
(40
)
คห.4: 22 ส.ค. 49, 11:09
ใต้อาคาร มีบ่อเลี้ยงปลา ซ่อนอยู่ ทำให้ ตัวอาคารเย็นสบาย...
POMBINTHAI
(40
)
คห.5: 22 ส.ค. 49, 11:11
ตัวอาคาร สวยงาม มีตู้ปลาด้านหน้า ให้ชม... ( เลี้ยง อราไพม่า กับ เนื้ออ่อน อย่างละตู้ ) ...
น้าเทียม งี้ เห็นปลาเนื้ออ่อน ขนาดกะลังทอด ถึงกับ เลียตู้ปลา ออกอาการเฉย....
จิกโก้
(38
)
คห.6: 22 ส.ค. 49, 11:13
เกาะติด.....
POMBINTHAI
(40
)
คห.7: 22 ส.ค. 49, 11:14
เราเลย เดินออกจาตัวอาคาร เมื่อได้รับการ บอกจากเจ้าหน้าที่ชาย ท่านนึง ชี้ให้ เดินไปทางโรงเรือน อีกด้าน...
ฮิๆๆ... ถังซักผ้า เอ้ย ถังเลี้ยงปลา ( อนุบาล ) ใหญ่ดีจริง น่าจะซักผ้าได้เยอะ เอ้ย..... เลี้ยงปลาได้แยะ นะเนี๊ยะ...
POMBINTHAI
(40
)
คห.8: 22 ส.ค. 49, 11:16
โรงเรือน ด้านหน้าเป็นโรงเรือนแบบ เปิด ไม่ค่อยต้องดูแล หรือควบคุม อุณหภูมิมากนัก ปลาที่เพาะฟัก ก็พวกปลาพื้นเมืองทั่วๆ ไป...
POMBINTHAI
(40
)
คห.9: 22 ส.ค. 49, 11:18
ระบบการหมุนเวียนของน้ำ และตัวกรอง ที่ทำแบบง่ายๆ...
POMBINTHAI
(40
)
คห.10: 22 ส.ค. 49, 11:20
นี่ดีกว่า ปลาพระเอกของเรา ( ช่วงตัวเล็กๆ ) ...
โรงเรือนอนุบาลลูกพันธุ์ปลาม้า....
เราเข้าไปดูกันเหอะ...
POMBINTHAI
(40
)
คห.11: 22 ส.ค. 49, 11:23
ภายในมีบ่อมากมาย แต่อนุบาลปลาอยู่ ไม่กี่ชนิด เช่น ปลาม้า ปลากา ปลาหมู ..
มีอาหารชั้นดี ( อาทิเมีย ) ให้กับลูกปลา เพื่อการเจริญเติบโต ที่ดี มีการคุม นน. จดบันทึก อย่างเรียบบร้อย...
เจอร์ราด
(67
)
คห.12: 22 ส.ค. 49, 11:27
อ้าว น้าเล็ก กทม ไปอยู่ศูนย์เพาะเลี้ยงตั้งแต่เมื่อไหร่เนี่ย
POMBINTHAI
(40
)
คห.13: 22 ส.ค. 49, 11:31
นี่ครับ.... นางเอก ของงาน...
เจ้าหน้าที่สาว วิทยากร ของทาง ศูนย์ฯ ที่มาช่วยพาเที่ยวสถานที่แห่งนี้ มาด้วยชุดอยู่บ้านแบบสบายๆ... กันเองจริงๆ
ดูดิ..
ฮิๆๆ... ชื่อเล่น เค้าชื่อ เปิ้ล จารุณี พวกผม ขอเรียกว่า ป้าเปิ้ล แล้วกันนะครับ....
=แองเจลินา=
คห.14: 22 ส.ค. 49, 11:32
น้าเละแกไปหัดเป็นเดะบ่อรองานใหม่อะน้าเจิด
เทียมไท
คห.15: 22 ส.ค. 49, 11:39
คนนี้พี่เปิ้ล พรชนก จ๊ะ พี่เปิ้ล จารุณีอีกคน
POMBINTHAI
(40
)
คห.16: 22 ส.ค. 49, 11:39
ป้าเปิ้ล ช่วยให้พวกเรา ได้รู้ถึงการ อนุบาล ปลาม้า ตั้งแต่แรกเริ่ม จากตัวอ่อน ( ออกจากไข่ ) ไล่มาจนถึงขนาดตัว ยาวเกือบๆ 4 นิ้ว...
แต่ละบ่อ จดสถิติ สำหรับการตรวจสอบไว้อย่างดีเยี่ยม...
POMBINTHAI
(40
)
คห.17: 22 ส.ค. 49, 11:41
นั่น วารุณี จ๊ะ ตาเทียม ( อาจารย์ วารุณี ) ...
นี่ครับ ตัวขนาด จิ๋วๆ...
POMBINTHAI
(40
)
คห.18: 22 ส.ค. 49, 11:45
ในโรงเพาะฟัก โรงนี้ มีบ่ออนุบาล ควบคุมอุณหภูมิ มากมายหลายบ่อ... ( ค่อนข้างที่จะร้อน เพราะปิดทึบ แต่โปร่งแสง )
เกือบๆ ทุกบ่อ จะเป็น ลูกปลาม้า แทบทั้งนั้น...
POMBINTHAI
(40
)
คห.19: 22 ส.ค. 49, 11:48
มีลูกปลากา ขนาดจิ๋ว หมกตัว เป็นกระจุกๆ.... หลายบ่อเช่นกัน..
จำได้มั๊ยครับ พวกเรา คราวที่แล้ว สามหมื่นตัว ที่ทางศูนย์ฯ อนุเคราะห์ให้เรามา ก็ตัวประมาณขนาดนี้... ( รึอาจจะใหญ่กว่านี้ นิดนึง )
POMBINTHAI
(40
)
คห.20: 22 ส.ค. 49, 11:50
มามายหลายบ่อจริงๆ ครับ... น่าชื่นใจ ที่การเพาะฟัก ประสบผลในขั้นที่น่าพอใจมาก...
POMBINTHAI
(40
)
คห.21: 22 ส.ค. 49, 11:54
มีปลาต่างชนิด ไว้ทดลอง ตรวจสอบค่าน้ำ ก่อนปล่อยอนุบาล ลูกปลา...
POMBINTHAI
(40
)
คห.22: 22 ส.ค. 49, 11:55
นี่ครับ ขนาดที่เรา ( อาจจะได้ ) นำมาปล่อย ตัวโต พอควร...
Mr.KiNg
(78
)
คห.23: 22 ส.ค. 49, 11:57
หาเสื่อหาหมอน มาปูนอนรอดูตอนจบของน้าปร้อม จอมโจรปล้นเอ็น กรั่กๆๆๆ
POMBINTHAI
(40
)
คห.24: 22 ส.ค. 49, 11:57
ดูกันชัดๆ ปลาม้า ฮี้ๆๆ ก๊อปๆๆๆ เย้ๆๆ.... เจ้ากำลังจะได้ เป็นอิสระ แล้ววว...
POMBINTHAI
(40
)
คห.25: 22 ส.ค. 49, 12:01
การควบคุม ระดับน้ำ ค่อนข้างที่จะเป็นหัวใจสำคัญ ทั้งการให้อ๊อกซิเจ่น ก้ต้องมีการจดบันทึก และ ทำรายการเก็บไว้...
1
2
3
4
5
>
>>
siamfishing.com © 2024