กระดาน
รีวิว
ตลาด
ประมูล
เปิดท้าย
เรือ
แหล่งตกปลา
ร้านค้า
ค้นหาข้อมูล
Login
สมัคร
29 พ.ย. 67
เราคนไทยชอบใช้สาย PE แต่ทำไมฝรั่งชอบใช้สายโมโนครับ: SiamFishing : Thailand Fishing Community
<
1
2
3
4
5
>
>>
กระดาน
คห. 158 อ่าน 51,498 โหวต 23
เราคนไทยชอบใช้สาย PE แต่ทำไมฝรั่งชอบใช้สายโมโนครับ
*ดับเบิ้ลชาร์จ*
(1859
)
คห.76: 27 เม.ย. 54, 11:20
+++ความรู้ทั้งน้นเลยครับ+++
ขอบวกให้ผู้ตั้งกระทู้และผู้ตอบเยี่ยมมากครับ+++++++
Beethoven
(2077
)
คห.77: 27 เม.ย. 54, 11:29
อ้างถึง: debbie posted: 27-04-2554, 11:17:35
นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น เหตุผลอีกข้อนึงก็คือเวลาไปใช้กับเหยื่อหมุนๆ ควงๆ พอใช้ไปนานๆสายมันตีเกลียวครับ
ถ้าไม่ติดเรื่องนี้ผมว่าอย่างอื่นดีมากๆ
สายถักไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่องนี้ แต่มันไม่ใช่เรื่องตายตัวครับเราสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม
ต่อไปเดี๋ยวควงต้องมาคุยกันว่า ยี่ห้อใหนเป็นยังไงอีกแน่เลย
รออ่านครับ
สวัสดีและขอบคุณน้า Debbie มากๆ ครับ สำหรับข้อมูลดีๆ และความคิดเห็นครับ
Beethoven
(2077
)
คห.78: 27 เม.ย. 54, 11:32
อ้างถึง: *ดับเบิ้ลชาร์จ* posted: 27-04-2554, 11:20:50
+++ความรู้ทั้งน้นเลยครับ+++
ขอบวกให้ผู้ตั้งกระทู้และผู้ตอบเยี่ยมมากครับ+++++++
สวัสดีและขอบคุณน้า *ดับเบิ้ลชาร์จ* ครับ
ผมตั้งกระทู้ขึ้นมาเพราะความสงสัยครับ
สงสัยว่าทำไมเรากลุ่มคนไทย ซื้อสายพีอีมาใช้กันอย่างมากมาย
แต่ผมไปเห็นฝรั่งเขาใช้สายโมโนเกือบทุกคนเลย
เพราะความสงสัยนี้ล่ะครับ จึงกลายมาเป็นกระทู้ มาเป็นประเด็นขึ้นมา
เมื่อมีน้าๆ มาตอบให้ความรู้ ความเข้าใจ
พวกเราที่ไม่รู้ ก็ตาสว่างกันมากขึ้นเลย
พวกเราที่ไม่รู้ก็ต้องขอขอบใจน้าๆ ทุกท่านที่สล่ะเวลามาตอบให้กับพวกเราทุกคนครับ
boonsak
(988
)
คห.79: 27 เม.ย. 54, 11:38
http://cyandkerrintaylor.blogspot.com/ ลองไปดูตามนี้เลยครับ ว่าต่างประเทศเค้าตกกระพงขาวกันทีตัวขนาดนี้เลย
Debbie
(32
)
คห.80: 27 เม.ย. 54, 11:38
แถมให้อีกข้อนึงครับแบบไม่ต้องวิชาการนะ
สายลักษณะสายเอ็นเวลาตีฟู่บ่อยๆ หรือตีติดกิ่งไม้แล้วฟู่ ลองแกะดูซิครับแกะบ่อยๆ มันจะหงิกงอ
พอมากๆเข้า ก็ไม่เรียงตัวสวยเหมือนตอนกรอใส่รอกใหม่ๆ
สายถักไม่มีปัญหาเรื่องนี้เลย แกะยังไงก็ยังเหมือนเดิม " ยอมขาดไม่ยอมยืด ไม่ยอมงอครับ"
จริงๆผมชอบสายจำพวกสายเอ็นมากแต่ด้วยเรื่องตีเกลียวกับหงิก งอ ทำให้ต้องมาใช้พวกสายถัก
เพราะขี้เกียจเปลี่ยนบ่อยๆครับ
ลมรำเพย
(924
)
1
คห.81: 27 เม.ย. 54, 11:53
อ้างถึง: debbie posted: 27-04-2554, 11:38:48
แถมให้อีกข้อนึงครับแบบไม่ต้องวิชาการนะ
สายลักษณะสายเอ็นเวลาตีฟู่บ่อยๆ หรือตีติดกิ่งไม้แล้วฟู่ ลองแกะดูซิครับแกะบ่อยๆ มันจะหงิกงอ
พอมากๆเข้า ก็ไม่เรียงตัวสวยเหมือนตอนกรอใส่รอกใหม่ๆ
สายถักไม่มีปัญหาเรื่องนี้เลย แกะยังไงก็ยังเหมือนเดิม " ยอมขาดไม่ยอมยืด ไม่ยอมงอครับ"
จริงๆผมชอบสายจำพวกสายเอ็นมากแต่ด้วยเรื่องตีเกลียวกับหงิก งอ ทำให้ต้องมาใช้พวกสายถัก
เพราะขี้เกียจเปลี่ยนบ่อยๆครับ
เมื่อก่อน ผมก็ใช้ สายโมโนนี่แหละ ตีเหยื่อปลอม จะว่าไปแล้ว นับครั้งที่ขาดได้เลย เพราะแทบไม่เจอ
แต่ด้วยเหตุผลตามที่น้า debbie ว่ามา ก็เป็นอีกปัจจัย ที่หันมาใช้ pe ..
สมัยแรกๆ ยังเคยใช้สายเบรด ที่ทั้งคม ทั้งแข็ง ติดตอแต่ละทีแทบไม่อยากดึงเพราะเสียวมือขาด
ก็กลับมาใช้สายโมโน ที่เกรดดีขึ้นมาหน่อย แบบสายเฉพาะงานเหยื่อปลอมเลยทีเดียว
พักหลังๆ กระแสพีอีบ้านเรามาแรง + กับ เหตุผลที่เกี่ยวกับสายโมโน ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
ตอนนี้ ก็เลยหันมาใช้ pe แต่ก็ยังใช้สายโมโน กับงานเบาๆอยู่ครับ
กระทู้นี้ดีมากๆครับ
ต้องให้เครดิต ผู้เปิดกระทู้ และ ผู้ที่เข้ามาให้ข้อมูลความรู้ด้วยครับ
Beethoven
(2077
)
คห.82: 27 เม.ย. 54, 11:57
อ้างถึง: boonsak posted: 27-04-2554, 11:38:48
http://cyandkerrintaylor.blogspot.com/ ลองไปดูตามนี้เลยครับ ว่าต่างประเทศเค้าตกกระพงขาวกันทีตัวขนาดนี้เลย
http://cyandkerrintaylor.blogspot.com/
สวัสดีครับน้า boonsak
ผมช่วยทำลิ้งค์ ทำภาพ และลงยูทุปให้ครับ
ช่วยๆ กันให้ความรู้ครับ
Beethoven
(2077
)
คห.83: 27 เม.ย. 54, 12:05
อ้างถึง: debbie posted: 27-04-2554, 11:38:48
แถมให้อีกข้อนึงครับแบบไม่ต้องวิชาการนะ
สายลักษณะสายเอ็นเวลาตีฟู่บ่อยๆ หรือตีติดกิ่งไม้แล้วฟู่ ลองแกะดูซิครับแกะบ่อยๆ มันจะหงิกงอ
พอมากๆเข้า ก็ไม่เรียงตัวสวยเหมือนตอนกรอใส่รอกใหม่ๆ
สายถักไม่มีปัญหาเรื่องนี้เลย แกะยังไงก็ยังเหมือนเดิม " ยอมขาดไม่ยอมยืด ไม่ยอมงอครับ"
จริงๆผมชอบสายจำพวกสายเอ็นมากแต่ด้วยเรื่องตีเกลียวกับหงิก งอ ทำให้ต้องมาใช้พวกสายถัก
เพราะขี้เกียจเปลี่ยนบ่อยๆครับ
สวัสดีครับน้า Debbie
ขอบคุณข้อมูลดีๆ และข้อคิดจากน้ามากๆ ครับ
Beethoven
(2077
)
คห.84: 27 เม.ย. 54, 12:06
อ้างถึง: ลมรำเพย posted: 27-04-2554, 11:53:02
อ้างถึง: debbie posted: 27-04-2554, 11:38:48
แถมให้อีกข้อนึงครับแบบไม่ต้องวิชาการนะ
สายลักษณะสายเอ็นเวลาตีฟู่บ่อยๆ หรือตีติดกิ่งไม้แล้วฟู่ ลองแกะดูซิครับแกะบ่อยๆ มันจะหงิกงอ
พอมากๆเข้า ก็ไม่เรียงตัวสวยเหมือนตอนกรอใส่รอกใหม่ๆ
สายถักไม่มีปัญหาเรื่องนี้เลย แกะยังไงก็ยังเหมือนเดิม " ยอมขาดไม่ยอมยืด ไม่ยอมงอครับ"
จริงๆผมชอบสายจำพวกสายเอ็นมากแต่ด้วยเรื่องตีเกลียวกับหงิก งอ ทำให้ต้องมาใช้พวกสายถัก
เพราะขี้เกียจเปลี่ยนบ่อยๆครับ
เมื่อก่อน ผมก็ใช้ สายโมโนนี่แหละ ตีเหยื่อปลอม จะว่าไปแล้ว นับครั้งที่ขาดได้เลย เพราะแทบไม่เจอ
แต่ด้วยเหตุผลตามที่น้า debbie ว่ามา ก็เป็นอีกปัจจัย ที่หันมาใช้ pe ..
สมัยแรกๆ ยังเคยใช้สายเบรด ที่ทั้งคม ทั้งแข็ง ติดตอแต่ละทีแทบไม่อยากดึงเพราะเสียวมือขาด
ก็กลับมาใช้สายโมโน ที่เกรดดีขึ้นมาหน่อย แบบสายเฉพาะงานเหยื่อปลอมเลยทีเดียว
พักหลังๆ กระแสพีอีบ้านเรามาแรง + กับ เหตุผลที่เกี่ยวกับสายโมโน ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
ตอนนี้ ก็เลยหันมาใช้ pe แต่ก็ยังใช้สายโมโน กับงานเบาๆอยู่ครับ
กระทู้นี้ดีมากๆครับ
ต้องให้เครดิต ผู้เปิดกระทู้ และ ผู้ที่เข้ามาให้ข้อมูลความรู้ด้วยครับ
สวัสดีครับน้า ลมรำเพย
ขอบคุณน้า ลมรำเพย มากๆ ครับ
Beethoven
(2077
)
คห.85: 27 เม.ย. 54, 12:10
จากลิ้งค์ของน้า boonsak ปลากระพงของเขาตัวใหญ่มะเลิกมะลักเลย
เขาปล่อยปลาไปแล้ว หากเราคนไทย กินเรียบวุธ 555555
Beethoven
(2077
)
คห.86: 27 เม.ย. 54, 12:18
น้าๆ คิดว่า อย่างนี้ดีไหม
ปลาขัง ไม่มีอุปสรรคในการอัดปลาเย่อปลา ใช้สายโมโน ก็เหลือเฟือ ใช้เบื่อแล้ว หรือหยิกงอมากๆ หน่อยก็ทิ้งก็เปลี่ยนใหม่ เพราะมันถูก
หมายธรรมชาติ ที่เราต้องการความชัดเจนมากๆ ก็ใช้สาย PE
น่าจะเป็นอีก 1 ทางเลือกที่ดีได้ไหมครับ
ยาวTiger
(1424
)
คห.87: 27 เม.ย. 54, 12:31
++++
stupidtokv2
คห.88: 27 เม.ย. 54, 12:32
แต่ก่อนใช้แต่สายเอ็นธรรมดา 7-8lb ตีไกลลิบโลกกกก ถูกตังค์ค่าสาย แต่ไม่ถูกตังค์ค่าเหยื่อ สายpe แรงดึงสูงๆช่วยลอดการเสียเหยื่อลดไปได้พอสมควร
ลมรำเพย
(924
)
คห.89: 27 เม.ย. 54, 12:33
อ้างถึง: beethoven posted: 27-04-2554, 12:18:58
น้าๆ คิดว่า อย่างนี้ดีไหม
ปลาขัง ไม่มีอุปสรรคในการอัดปลาเย่อปลา ใช้สายโมโน ก็เหลือเฟือ ใช้เบื่อแล้ว หรือหยิกงอมากๆ หน่อยก็ทิ้งก็เปลี่ยนใหม่ เพราะมันถูก
หมายธรรมชาติ ที่เราต้องการความชัดเจนมากๆ ก็ใช้สาย PE
น่าจะเป็นอีก 1 ทางเลือกที่ดีได้ไหมครับ
...
...
อีกอย่าง ที่คนไทย ชอบใช้สายที่แรงดึงสูงกว่าที่สเปคคันกำหนดคือ....
...เสียดายเหยื่อ กลัวมันขาด...
กับอีกอย่างคือ เน้นได้ตัว ชัวร์ไว้ก่อน ...
Beethoven
(2077
)
คห.90: 27 เม.ย. 54, 12:35
อ้างถึง: ยาวTiger posted: 27-04-2554, 12:31:49
++++
สวัสดีครับน้า ยาวTiger
Beethoven
(2077
)
คห.91: 27 เม.ย. 54, 12:36
อ้างถึง: stupidtokv2 posted: 27-04-2554, 12:32:39
แต่ก่อนใช้แต่สายเอ็นธรรมดา 7-8lb ตีไกลลิบโลกกกก ถูกตังค์ค่าสาย แต่ไม่ถูกตังค์ค่าเหยื่อ สายpe แรงดึงสูงๆช่วยลอดการเสียเหยื่อลดไปได้พอสมควร
สวัสดีครับน้า stupidtokv2
รับทราบครับ
ittiponton
(11
)
คห.92: 27 เม.ย. 54, 12:37
Beethoven
(2077
)
คห.93: 27 เม.ย. 54, 12:38
อ้างถึง: ลมรำเพย posted: 27-04-2554, 12:33:15
อ้างถึง: beethoven posted: 27-04-2554, 12:18:58
น้าๆ คิดว่า อย่างนี้ดีไหม
ปลาขัง ไม่มีอุปสรรคในการอัดปลาเย่อปลา ใช้สายโมโน ก็เหลือเฟือ ใช้เบื่อแล้ว หรือหยิกงอมากๆ หน่อยก็ทิ้งก็เปลี่ยนใหม่ เพราะมันถูก
หมายธรรมชาติ ที่เราต้องการความชัดเจนมากๆ ก็ใช้สาย PE
น่าจะเป็นอีก 1 ทางเลือกที่ดีได้ไหมครับ
...
...
อีกอย่าง ที่คนไทย ชอบใช้สายที่แรงดึงสูงกว่าที่สเปคคันกำหนดคือ....
...เสียดายเหยื่อ กลัวมันขาด...
กับอีกอย่างคือ เน้นได้ตัว ชัวร์ไว้ก่อน ...
ใช่เลยครับน้า ลมรำเพย
เริ่มแรกใหม่ๆ เลย ผมใช้ pe 4 เลยครับ 5555
หลังๆ ศึกษามากเข้า ใช้สาย 1.5-2 ประมาณนี้แล้วครับ
กลัวใช้สายพีอี ที่เกินเวทคัน แล้วคันมันจะหักครับ คิคิ
Beethoven
(2077
)
คห.94: 27 เม.ย. 54, 12:38
อ้างถึง: ittiponton posted: 27-04-2554, 12:37:14
สวัสดีครับน้า ittiponton
jaba
(413
)
คห.95: 27 เม.ย. 54, 12:39
ใจเย็นๆคร้าบอย่าเพิ่งด่วนสรุปแบบนั้นนะน้า
ปลาขังก็จริงๆแต่มีปัจจัยหลายอย่างเข้ามาเสริมให้ผมแนะนำว่าใช้พีอีดีกว่าครับ ไหนจะการต่อช๊อคลีดที่โมโนหรือฟลูโรจะต่อยากกว่ากว่าพีอี
เพราะสายเอ็นกับสายเอ็นเวลาต่อกันบางท่านอาจทำได้ไม่แน่นพอ ตีๆไปอาจเสียเหยื่อได้นะครับ เสียดายตังค์ค่าเหยื่อ ด้วยความลื่นของสายนี่แหล่ะครับไม่เหมือนเราต่อสายหน้าพีอีเข้ากับสายถักต่างๆ ซึ่งมีวิธีการต่อและเป็นที่นิยมในบ้านเรามากมายครับ
ใช้โมโนยังไงต้องต่อช๊อคลีดอยู่ดียกเว้นน้าจะใช้ฟลูโรแท้ๆก็สามารถผูกเข้ากับเหยื่อหรือกิ๊พเข้าได้โดยตรงแต่ขนาดสายต้องเหมาะสมหรือตัดผูกใหม่บ่อยๆนั่นเอง แล้วฟลูโรแท้ๆแพงกว่าพีอีอีกนะครับ ฉะนั้นตัดเรื่องราคาถูกไปเลยครับผม
ปล.โมโนกะฟลูโรนี่ เอาจริงๆตียากกว่าพีอีนะครับ ในขนาดหน้าตัดเท่าๆกัน ควบคุมการฟู่ได้ยากกว่าเพราะมันลื่นปรื้ดๆ ใหม่ๆอาจจะต้องมานั่งแก้ฟู่มากกว่าอัดปลา แล้วถ้ามันฟู่ทีนึงนี่ แทบจะเรียกนกมาคาบเอาไปทำรังให้ลูกน้อยอาศัยได้เลยครับเพราะนิ่มนอนสบาย
จึงอยากให้ศึกษาก่อนค่อยฟันธงว่าแบบไหนเหมาะสมกับสถานที่ไหนครับ
Beethoven
(2077
)
คห.96: 27 เม.ย. 54, 12:47
อ้างถึง: jaba posted: 27-04-2554, 12:39:22
ใจเย็นๆคร้าบอย่าเพิ่งด่วนสรุปแบบนั้นนะน้า
ปลาขังก็จริงๆแต่มีปัจจัยหลายอย่างเข้ามาเสริมให้ผมแนะนำว่าใช้พีอีดีกว่าครับ ไหนจะการต่อช๊อคลีดที่โมโนหรือฟลูโรจะต่อยากกว่ากว่าพีอี
เพราะสายเอ็นกับสายเอ็นเวลาต่อกันบางท่านอาจทำได้ไม่แน่นพอ ตีๆไปอาจเสียเหยื่อได้นะครับ เสียดายตังค์ค่าเหยื่อ ด้วยความลื่นของสายนี่แหล่ะครับไม่เหมือนเราต่อสายหน้าพีอีเข้ากับสายถักต่างๆ ซึ่งมีวิธีการต่อและเป็นที่นิยมในบ้านเรามากมายครับ
ใช้โมโนยังไงต้องต่อช๊อคลีดอยู่ดียกเว้นน้าจะใช้ฟลูโรแท้ๆก็สามารถผูกเข้ากับเหยื่อหรือกิ๊พเข้าได้โดยตรงแต่ขนาดสายต้องเหมาะสมหรือตัดผูกใหม่บ่อยๆนั่นเอง แล้วฟลูโรแท้ๆแพงกว่าพีอีอีกนะครับ ฉะนั้นตัดเรื่องราคาถูกไปเลยครับผม
ปล.โมโนกะฟลูโรนี่ เอาจริงๆตียากกว่าพีอีนะครับ ในขนาดหน้าตัดเท่าๆกัน ควบคุมการฟู่ได้ยากกว่าเพราะมันลื่นปรื้ดๆ ใหม่ๆอาจจะต้องมานั่งแก้ฟู่มากกว่าอัดปลา แล้วถ้ามันฟู่ทีนึงนี่ แทบจะเรียกนกมาคาบเอาไปทำรังให้ลูกน้อยอาศัยได้เลยครับเพราะนิ่มนอนสบาย
จึงอยากให้ศึกษาก่อนค่อยฟันธงว่าแบบไหนเหมาะสมกับสถานที่ไหนครับ
สวัสดีและขอบคุณข้อมูลดีๆ จากน้า jaba มากๆ ครับ
Beethoven
(2077
)
คห.97: 27 เม.ย. 54, 12:48
สงสัยผมต้องกลับไปใช้ pE เหมือนเก่า คิคิ
เพราะมันง่ายที่สุดแล้ว คิคิ
narita
(4636
)
คห.98: 27 เม.ย. 54, 12:51
++++++++++++++++++++ครับน้า
TheSign
(12841
)
คห.99: 27 เม.ย. 54, 13:34
กระทู้มีประโยชน์ค๊าบ แต่มักจะตามมาด้วยคำว่า แต่...
แต่... อย่าลืมตรงนี้นะค๊าบ
บ้านเรา ต้องยอมรับว่าตามร้านในท้องถิ่นหลายแห่ง
ไม่ได้มีสายที่เหมาะกับการตีเหยื่อปลอม ด้านคุณภาพ ราคา ให้เลือกมากนักอย่างต่างประเทศ
อยู่ที่การให้ข้อมูล ความรู้ ฯลฯ ซึ่งเว็ปสยามช่วยได้มากทีเดียวค๊าบ
วันข้างหน้าเมื่อธุรกิจตกปลาโตกว่านี้
ร้านท้องถิ่นมีของให้นักตกปลาได้เลือกใช้เหมาะสมกับหลายๆสภาพแวดล้อมก็จะมีคนเล่นหลากหลายให้เห็นเพิ่มขึ้นเองค๊าบ
Beethoven
(2077
)
คห.100: 27 เม.ย. 54, 14:04
อ้างถึง: narita posted: 27-04-2554, 12:51:15
++++++++++++++++++++ครับน้า
สวัสดีครับน้า narita
<
1
2
3
4
5
>
>>
siamfishing.com © 2024