กระดาน
รีวิว
ตลาด
ประมูล
เปิดท้าย
เรือ
แหล่งตกปลา
ร้านค้า
ค้นหาข้อมูล
Login
สมัคร
27 พ.ย. 67
** ชมแอบถ่ายขั้นตอนการผลิตคันเบ็ด ***( Part1): SiamFishing : Thailand Fishing Community
<
1
2
3
4
5
>
>>
กระดาน
คห. 183 อ่าน 48,599 โหวต 111
** ชมแอบถ่ายขั้นตอนการผลิตคันเบ็ด ***( Part1)
น้องอิง
(1415
)
คห.26: 30 ก.ย. 52, 09:49
หลังจากที่ผ่านขั้นตอนการตัดผ้าจากม้วน และนำมาตัดคร่าวๆให้ตามแบบแล้ว
ก็จะมาสู่ขั้นตอนการวัดและตัดให้ได้ขนาด ตามสเปคที่ออกแบบไว้ ซึ่งคันจะหนากี่ชั้น
หรือโคนจะหนาเท่าไหร่ หรือบางเท่าไหร่ ต้องผ่านขั้นตอนนี้ แล้วมาเรียงขึ้นชั้นไม้ไว้
ด้านหลัง เพื่อรอสู่ขั้นตอนต่อไป
ตามไปดูกันต่อนะครับ
น้องอิง
(1415
)
คห.27: 30 ก.ย. 52, 09:56
ในขั้นตอนในส่วนของผ้า Graphite เสร็จเรียบร้อย ต่อมาก็มาถึงขั้นตอนการเตรียมโม
สำหรับทำคัน โดยโมแบบที่จะใช้พันคัน จะถูกทำความสะอาดเรียบร้อย จัดเรียงไว้รอการ
พันผ้า Graphite เข้าสู่แบบตามโมที่ต้องการ ซึ่งโมจะมีขนาดต่างๆตามความต้องการ หรือ
ตามขนาดที่ออกแบบไว้ ส่วนอายุการใช้งานของโม แต่ละตัวนั้น จะไม่เท่ากันแต่โดยทั่วไปเท่าที่สอบถามกับทางเจ้าหน้าที่ โมเส้นหนึ่งสามารถผลิตคันได้ประมาณ 5000 - 6000 ครั้ง
kennergee
(68
)
คห.28: 30 ก.ย. 52, 10:02
น้องอิง
(1415
)
คห.29: 30 ก.ย. 52, 10:02
หลังจาก โมพร้อม ผ้า Graphite ที่ตัดไว้เป็นแบบพร้อม ก็ถึงเวลาขึ้นรูป ถ้าเปรียบการตัดเสื้อผ้า ในส่วนนี้ก็คือช่างเย็บนั่นเอง โดยที่โรงงานที่นี่จะใช้เครื่องในการช่วยม้วนผ้าเข้าโมสำหรับขึ้นรูปแบลงค์ ซึ่งจะต่างจากหลายๆโรงงานที่เคยเข้าชม จะใช้วิธีการม้วนมือ และใช้เตารีดเล็กๆม้วนขึ้นรูปแบลงค์ ซึ่งคำตอบนี้คือ คันที่ใช้เครื่องม้วนขึ้นรูปจะได้แบลงค์ Graphite ที่ค่อนข้างแน่นกระชับ ช่องว่าของอากาศภายในแบลงค์จะน้อย ดังนั้นการควบคุมคุณภาพของ แบลงค์จะทำได้ดีกว่า การใช้เตารีดความร้อนแล้วม้วนด้วยมือ
fishingjoke
(1263
)
คห.30: 30 ก.ย. 52, 10:04
Natthawut.51
(82
)
คห.31: 30 ก.ย. 52, 10:05
SSS003
(785
)
คห.32: 30 ก.ย. 52, 10:06
รอชมด่วนเลยครับ
eak.9mm
(11
)
คห.33: 30 ก.ย. 52, 10:08
จุ๊ย บางนา
(369
)
คห.34: 30 ก.ย. 52, 10:11
ตามชมด้วยคนคับ
deaw มะเดี่ยว
(333
)
คห.35: 30 ก.ย. 52, 10:11
t_boontham
(12
)
คห.36: 30 ก.ย. 52, 10:11
เยี่ยมยอดครับมาโหวดให้ก่อนเลย
mangmo1980
(381
)
คห.37: 30 ก.ย. 52, 10:15
+ไปก่อน แต่เอ หนังขาดเอาดื้อๆเลย คอมแฮ็งค์หรือคนแฮ็งค์
น้องอิง
(1415
)
คห.38: 30 ก.ย. 52, 10:15
หลังจากที่ม้วนขึ้นรูปได้ Graphite เป็นแท่งตามรูปทรงคันเบ็ดเรียบร้อยแล้ว จะถูกส่งมายัง
แผนกรัดและใช้เทปใสๆ ที่สามารถละลายเมื่อถูกความร้อน ที่วางอยู่เป็นม้วนบนชั้นด้านหลัง ซึ่งขั้นตอนจะนำแบลงค์ที่ขึ้นรูปและรีดม้วนเรียบร้อย เข้าสู่เครื่องพันเทปใสตลอดทั้ง
แบลงค์ ซึ่งขั้นตอนนี้ค่อนข้างสำคัญ ในโรงงานที่ประเทศจีนหลายๆโรงานที่มีขนาดเล็ก
หรือต้องการลดต้นทุน ก็จะลดต้นทุนในขั้นตอนนี้ ก็จะได้แบลงค์เหมือนกันเมื่อผ่านตู้อบ
แต่คุณภาพแบลงค์จะแตกต่างกันมากพอสมควร เพราะเทปใสๆที่อยู่บนชั้นด้านหลัง ที่
ใช้รัดราคาค่อนข้างสูง และมีหลายเกรด ตัวนี้จะช่วยประสานและเพิ่มความยีดหยุ่นได้พอ
สมควร
เสี่ยChoo
(237
)
คห.39: 30 ก.ย. 52, 10:16
น้องอิง
(1415
)
คห.40: 30 ก.ย. 52, 10:20
เมื่อม้วนด้วยเทปอีลาสติคเรียบร้อยแล้ว แบลงค์ก็จะถูกส่งเข้าตู้อบความร้อน ในรูปแบบ
แขวน ตรงแนวดิ่ง เพราะลดการงอหรือบิดตัวขณะถูกความร้อน
โดยความร้อนจะช่วยในการเชื่อมประสาน Graphite ให้เป็นเนื้อเดียวกัน
ซึ่งแบลงค์ขนาดต่างกัน ความร้อน และเวลาที่ใช้ก็ต่างกันครับ
OrangeMusic
คห.41: 30 ก.ย. 52, 10:22
ว้าวๆๆๆๆ น้าไปทั้งทีมีของติดไม้ติดมือกลับมาฝากหลานๆบ้างไหมงับ อิอิ
power
(179
)
คห.42: 30 ก.ย. 52, 10:23
vagas
(9
)
คห.43: 30 ก.ย. 52, 10:23
ตามชมครับน้า
น้องอิง
(1415
)
คห.44: 30 ก.ย. 52, 10:29
คันที่ผ่านจากตู้อบเรียบร้อย และถอดโมเรียบร้อยแล้ว ก็จะถูกจัดเรียงพักรอเป็นขนาดแต่
ละขนาด เพื่อเตรียมตัวสู่ขั้นตอนต่อไป
สิรวุฒิ
(2521
)
1
คห.45: 30 ก.ย. 52, 10:31
Hack11
(3050
)
คห.46: 30 ก.ย. 52, 10:32
+++++++
rin9
(1332
)
คห.47: 30 ก.ย. 52, 10:34
สุดยอดครับได้ความรู้มากๆๆเลยครับ..ตามชมครับ
piaks
(2697
)
คห.48: 30 ก.ย. 52, 10:34
น้องอิง
(1415
)
คห.49: 30 ก.ย. 52, 10:35
แล้วแบลงค์ที่ผ่านขั้นตอนต่างๆ ก็ผ่านมาถึงขั้นตอนนี้
ในจุดนี้แบลงค์ทุกเส้นจะถูกตัดให้ได้ขนาดตามที่ต้องการ
โดยการตัดนั้นจะตัดผ่านน้ำครับ คือเป็นการป้องกันการสูญเสียคุณภาพ
เมื่อได้รับความร้อนสูง จึงต้องตัดผ่านน้ำและอีกส่วนหนึ่งคือลดความฟุ้ง
กระจายของฝุ่นด้วยครับ
บอยLour
(947
)
คห.50: 30 ก.ย. 52, 10:35
<
1
2
3
4
5
>
>>
siamfishing.com © 2024