ซ้ำเย็น-เช้า...Paralaubuca and Hampala macrolepidota: SiamFishing : Thailand Fishing Community
12>
กระดาน
คห. 86 อ่าน 7,011 โหวต 32
ซ้ำเย็น-เช้า...Paralaubuca and Hampala macrolepidota
ตั้ง: 30 ส.ค. 56, 10:53
ซ้ำเย็น-เช้า...Paralaubuca and  Hampala macrolepidota
สวัสดีครับ วันนี้มาหาอะไรที่ใจมันอย่าทำกันหน่อยครับ...
คห.1: 30 ส.ค. 56, 10:54
 :cheer:
คห.2: 30 ส.ค. 56, 11:01
 [b]ภาพไม่ใส ขออภัยด้วย กล้องมือถือคร
ภาพไม่ใส ขออภัยด้วย กล้องมือถือครับ
คห.3: 30 ส.ค. 56, 11:02
 :cheer:
คห.4: 30 ส.ค. 56, 11:03
 :cheer:
คห.5: 30 ส.ค. 56, 11:04
 [b]มาโน้นแแล้วตัวแรก[/b]
มาโน้นแแล้วตัวแรก
คห.6: 30 ส.ค. 56, 11:05
 :grin:
คห.7: 30 ส.ค. 56, 11:06
 :cheer:
คห.8: 30 ส.ค. 56, 11:09
 [b]ความรู้ครับ....[/b] :cheer: :cheer: :cheer:


สกุลปลาแ
ความรู้ครับ....


สกุลปลาแปบควาย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Paralaubuca) เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกปลาแปบ อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Cultrinae ใช้ชื่อสกุลว่า Paralaubuca (/พา-รา-ลอ-บู-คา/)
มีรูปร่างโดยรวมคือ มีรูปร่างยาว ลำตัวแบนข้างมาก ปากเล็ก ตาโต ท้องเป็นสันคม ด้านท้องค่อนข้างกว้างออก ครีบอกยาว ครีบหางเว้าลึก เกล็ดเล็กละเอียดสีเงินแวววาว เส้นข้างลำตัวไม่ต่อเนื่องกัน เกล็ดแถวที่อยู่หน้าครีบหลังไม่เลยเข้ามาถึงระหว่างนัยน์ตา เกล็ดตามเส้นข้างลำตัวมีจำนาน 50-85 แถว[1] มีขนาดโตเต็มที่โดยเฉลี่ย 15 เซนติเมตร มักอยู่เป็นฝูงใหญ่ มีการอพยพขึ้นล่องตามแม่น้ำเพื่อวางไข่และหากินเป็นฤดูกาล มักอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลเชี่ยว หากินใกล้ผิวน้ำ พบตั้งแต่แม่น้ำโขงถึงแม่น้ำเจ้าพระยาไปจนถึงมาเลเซีย กินแมลงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร
มีทั้งหมด 5 ชนิด[2] โดยเป็นชนิดที่พบได้ในประเทศไทย 3 ชนิด
Paralaubuca barroni (Fowler, 1934)
Paralaubuca harmandi Sauvage, 1883**พบในประเทศไทย
Paralaubuca typus (Bleeker, 1865)**พบในประเทศไทย
Paralaubuca riveroi (Fowler, 1935)**พบในประเทศไทย
Paralaubuca stigmabrachium (Fowler, 1934)
ซึ่งสำหรับในประเทศไทย ปลาแปบควายทั้ง 3 ชนิด ถูกจับขึ้นมาเพื่อทำปลาแห้ง, ปลาร้า และบริโภคโดยปรุงสด อีกทั้งยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย
โดยมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "ท้องพลุ" และในภาษาอีสานเรียกว่า "แตบ", "แตบขาว" หรือ "มะแปบ" เป็นต้
คห.9: 30 ส.ค. 56, 11:11
[q][i]อ้างถึง: challenger posted: 30-08-2556, 11:04:39[/i]

หมายเดีย
อ้างถึง: challenger posted: 30-08-2556, 11:04:39

หมายเดียวกะตาเอ้ ป่ะเนี่ย



หมายลับ....

มาๆเดี้ยวพาไป....
คห.10: 30 ส.ค. 56, 11:13
 [b]มาอ๊ก 1[/b]
มาอ๊ก 1
คห.11: 30 ส.ค. 56, 11:14
 :cheer:
คห.12: 30 ส.ค. 56, 11:14
 :cheer:
คห.13: 30 ส.ค. 56, 11:16
 :cheer:
คห.14: 30 ส.ค. 56, 11:16
 :cheer:
คห.15: 30 ส.ค. 56, 11:18
 [b]ข้ามมาอีกฝั่งก็เงียบ[/b]
ข้ามมาอีกฝั่งก็เงียบ
คห.16: 30 ส.ค. 56, 11:19
 :cheer:
คห.17: 30 ส.ค. 56, 11:20
 [b]เย็นได้มา3[/b] :cheer:
เย็นได้มา3
คห.18: 30 ส.ค. 56, 11:22
 [b]ตัวนี้มาตอนเช้าวันนี้เอง มาซ้ำต่
ตัวนี้มาตอนเช้าวันนี้เอง มาซ้ำต่อ...
คห.19: 30 ส.ค. 56, 11:23
 :cheer:
คห.20: 30 ส.ค. 56, 11:25
 [b]ความรู้ครับ....[/b]


ปลากระสูบขีด (อัง
ความรู้ครับ....


ปลากระสูบขีด (อังกฤษ: Hampala barb, Tranverse-bar barb) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hampala macrolepidota อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลากระสูบจุด (H. dispar) แต่ด้านข้างลำตัวมีแถบขวางบริเวณใต้ครีบหลังลงมาถึงท้อง ในปลาขนาดเล็กมีแถบ 2 แถบที่กลางลำตัวและโคนหาง และมีแถบใต้ตาด้วย ครีบมีสีคล้ำแดงเรื่อ ขอบบนและขอบล่างของครีบหางมีแถบสีคล้ำ มีขนาดใหญ่กว่าปลากระสูบจุดซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน คือ สามารถยาวได้ถึง 30 เซนติเมตร หรือ 70 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดใหญ่เต็มที่
พบมากในแม่น้ำโขง และพบบ้างในแม่น้ำเจ้าพระยา โดยจะพบได้มากกว่าปลากระสูบจุด[1]
เป็นปลากินเนื้อ จัดเป็นปลานักล่าชนิดหนึ่ง มักไล่จับปลาขนาดเล็ก เช่น ปลาซิว ปลาวัยอ่อน รวมถึงแมลงน้ำต่าง ๆ ในแม่น้ำและหนองบึงต่าง ๆ เป็นที่นิยมของนักตกปลาทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่นโดยใช้เหยื่อปลอม บริโภคด้วยการปรุงสด หรือทำปลาร้า ปลาส้ม เป็นต้น และยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วย
ปลากระสูบขีดมีชื่อเรียกทางภาษาอีสานว่า "สูบ", "สูด", "สิก" หรือ "ขม" เป็นต้น
คห.21: 30 ส.ค. 56, 11:26
 [b]แล้ว+อีก1 [/b]
แล้ว+อีก1
คห.22: 30 ส.ค. 56, 11:27
 :umh:
คห.23: 30 ส.ค. 56, 11:28
 :cheer:
คห.24: 30 ส.ค. 56, 11:29
 :cheer:
คห.25: 30 ส.ค. 56, 11:30
 :cheer:
12>
siamfishing.com © 2024