ภาพที่ 1อันดับที่ 10
ปลา มาเซียร์
ชื่อวิทยาศาสตร์ Tor putitora
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร
ขนาดเมื่อโตเต็มวัย ประมาณ 275 ซม. น้ำหนัก ไม่ระบุ
ภาพที่ 2อันดับที่ 9
ปลา กะพงแม่น้ำไนล์ หรือ Nile Perch
ชื่อวิทยาศาสตร์ Lates niloticus
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำไนล์
ขนาดเมื่อโตเต็มวัย ประมาณ 200 ซม. น้ำหนัก 200 กก.
ภาพที่ 3อันดับที่ 8
ปลา พิไรบ้า
ชื่อวิทยาศาสตร์ Brachyplatystoma filamentosum
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำอเมซอน และใกล้เคียง
ขนาดเมื่ ?? โตเต็มวัย ประมาณ 360 ซม. น้ำหนัก 200 กก.
ภาพที่ 4อันดับที่ 7
ปลา อราไพมา หรือ ปลาช่อนอเมซอน หรือที่คนพื้นเมืองเรียกว่า Pirarucu
ชื่อวิทยาศาสตร์ Arapaima gigas
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำอเมซอน
ขนาดเมื่อโตเต็มวัย ประมาณ 450 ซม. น้ำหนัก ประมาณ 200 กก
ภาพที่ 5อันดับที่ 6
ปลา กระโห้
ชื่อวิทยาศาสตร์ Catiocarpio siamensis
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำแม่กรอง เจ้าพระยา แม่น้ำโขง
ขนาดเมื่อโตเต็มวัย 300 ซม. น้ำหนัก 300 กก.
ภาพที่ 6อันดับที่ 5
ปลา เทพา
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pangasius sanitwongsei
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ลุ่มแม่น้ำป่าสัก ลุ่มแม่น้ำโขง
ขนาดเมื่อโตเต็มที่ ประมาณ 300 ซม. น้ำหนัก ประมาณ 300 กก.
ภาพที่ 7อันดับที่ 4
ปลา บึก
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pangasianodon gigas
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำโขง
ขนาดเมื่อโตเต็มที่ ประมาณ 330 ซม. น้ำหนักประมาณ 300 กก.
ภาพที่ 8อันดับที่ 3
ปลา เวลส์ แคทฟิช Wels Catfish
ชื่อวิทยาศาสตร์ Silurus glanis
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำขนาดใหญ่ในทวีปยุโรป
ขนาดเมื่อโตเต็มวัย ประมาณ 500 ซม. น้ำหนัก ประมาณ 306 กก.
ภาพที่ 9อันดับที่ 2
ปลา ฉลามปากเป็นจีน Chinese paddlefish ( ผมคิดว่าน่าจะเป็นปลาน้ำจืดที่หายากที่สุดในโลก )
ชื่อวิทยาศาสตร์ Psephurus gladius
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง
ขนาดเมื่อโตเต็มวัย ประมาณ 700 ซม. น้ำหนัก ประมาณ 300 กก. (สูญพันธุ์ไปแล้ว)
ภาพที่ 10อันดับที่ 1
ปลา กระเบนราหู (น้ำจืด)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Himantura chaophraya
ถิ่นอาศัย ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา แม่กรอง และโขง
ขนาดเมื่อโตเต็มวัย ประมาณ 500 ซม. (เส้นผ่านศูนย์กลางขนาดจาน) น้ำหนัก ประมาณ 600 กก.
ภาพที่ 11อันดับที่ 0..( ตัวนี้พิเศษ)
ปลา อริเกเตอร์การ์
ชื่อวิทยาศาสตร์ Atractosteus spatula
ถิ่นอาศัย ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ ลุ่มแม่น้ำมิซิซิปปี้
ขนาดเมื่นโตเต็มวัย ประมาณ 350 ซม. น้ำหนัก ประมาณ 127 กก. อายุยืนยาว