ภาพที่ 1สายสากลและสายอนุรักษ์
ภาพที่ 2ต่างก็ศึกษาค้นคว้าเอาจากตำราด้วยกันทั้งสิ้น
ภาพที่ 3สากลเริ่มจากพิมพ์
ภาพที่ 4อนุรักษ์เริ่มจากเนื้อหามวลสาร
ภาพที่ 5สุดท้ายจบที่ปลายทางเดียวกัน
ภาพที่ 6พิมพ์ สากล หลวงวิจารย์ เพียงอย่างเดียว อนุรักษ์ ช่างชาวบ้าน ช่างหลวง ช่างสิบหมู่
เนื้อ หามวลสาร สากล เนื้อปูนเปลือกหอย มีน้ำมันตังอิ้วเป็นตัวประสาน(ยุคปลาย) อนุรักษ์ หลากหลายเนื้อ น้ำอ้อย น้ำผึ้งเป็นตัวประสาน
ธรรมชาติความเก่า สากลและอนุรักษ์ แนวทางเดียวกัน
ภาพที่ 7ถ้าจะเก็บสะสมแบบพาณิชย์ ต้องหาให้ได้ตามหลักสากล
ภาพที่ 8ถ้าจะเก็บแบบศรัทธา ศึกษาสะสมแบบอนุรักษ์ ตามชอบเลยครับ
ภาพที่ 9การสะสมพระสมเด็จฯในสายอนุรักษ์ไม่มุ่งเน้นในเชิงพาณิชย์ จึงควรเริ่มศึกษาจาก ธรรมชาติ ความเก่า มาเป็นอันดับแรก
เช่น การทรุดตัว ของเนื้อรอบๆ เม็ดมวลสาร ร่องรอย การยุบ แยก ปริ การหลุดร่วงของมวลสารที่เป็นอินทรีวัตถุซึ่งย่อยสลายได้
ทั้งที่หลุดร่วงไปหมดแล้ว หลุดออกไปยังไม่หมด และยังไม่หลุดหรือย่อยสลาย อันทำให้เกิด รูพรุน อันเกิดจากปรากฏการข้างต้น
ภาพที่ 10คราบแคลเซี่ยม ของปูนเปลือกหอย(อาจเรียกว่าแป้งรองพิมพ์)ซึ่งเกิดปรากกฎการตามเงื่อนไขของกาลเวลา(แม้ถูกล้างก็เกิดขึ้นใหม่ได้)
ภาพที่ 11เม็ด ก้อน มวลสาร ต่างๆ ตามที่เราๆ อ่านๆ กันมาในหนังสือ
ภาพที่ 12และยังอีกหลายอย่างที่เป็นส่วนผสม หลักและส่วนผสมรอง
ภาพที่ 13ยิ่งส่อง ยิ่งพบมากขึ้นไปเรื่อยๆ
ภาพที่ 14จะให้ส่องภายใน สามหรือห้านาที นั้น .....
ภาพที่ 15ไม่มีสิ่งใดตายตัว นอกจากภาพรวมที่ลงตัว ขององค์พระเอง
ภาพที่ 16หลากหลายพิมพ์
ภาพที่ 17หลากหลายเนื้อ
ภาพที่ 18หลากหลายสภาพ
ภาพที่ 19กว่าเราจะได้เพบเจอ
ภาพที่ 20หลักๆ