สยามฟิชชิ่ง
หน้าแรก|กระดาน|รีวิว|ประมูล|ตลาด|เปิดท้าย
login | สมัครสมาชิก | วิธีสมัครสมาชิก | ลืมชื่อ/รหัส | login ไม่ได้? | 28 มี.ค. 67
ชมโรงงานผลิตคัน ตอนที่ 1: SiamFishing : Thailand Fishing Community
หน้าที่: 1 | 2 | 3 | 4 | 5 >
 กระดาน > อื่นๆ
ความเห็น: 101 - [27 มิ.ย. 51, 08:54] ดู: 31,300 - [26 มี.ค. 67, 05:03]  ติดตาม: 2 โหวต: 49
ชมโรงงานผลิตคัน ตอนที่ 1
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ตั้งกระทู้: 24 มิ.ย. 51, 16:50
ชมโรงงานผลิตคัน ตอนที่ 1
ผมและเพื่อนผู้ค้าอุปกรณ์ตกปลา  ได้รับเชิญจากบริษัท Viva ได้ให้ไปเยี่ยมชมโรงงานผลิตอุปกรณ์ตกปลา  มากมายหลายโรงงาน  และหนึ่งในโรงงานที่มีการต้องการเข้าไปเยี่ยมชมคือ  โรงงานที่ผลิตคันตระกูล TOURNAMENT  ที่ผมผลิต Band นี้ขึ้นมา  และทางโรงงานอยากให้ไปเยี่ยมชม Technology ใหม่ที่จะถูกนำมาใช้คันของ Tournament 2 รุ่นคือ G7  และ  Ultralight  ซึ่งเท่าที่ผ่านมาทางโรงงานได้ยกสินค้าที่ทางโรงงานผลิตให้  และเกรดสินค้าที่โรงงานจะผลิตต้องมีระดับราคาขั้นต่ำค่อนข้างสูง  พอดีในช่วงดังกล่าว  ทางญี่ปุ่นจะเข้ามาเช็คสินค้าพอดี  เลยมีโอกาสเดินทางไปเยี่ยมชม 

ในภาพเป็น Mo สำหรับทำแบลงค์ที่ใช้ทำคัน
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 1: 24 มิ.ย. 51, 16:53

ในภาพจะเป็น Mo ที่เรียงไว้สำหรับรอทำแบลงค์  ซึ่งในโรงงานนี้จะทำเฉพาะคัน Graphite และ คันที่เป็นปลา

ในภาพจะเป็น Mo ที่เรียงไว้สำหรับรอทำแบลงค์  ซึ่งในโรงงานนี้จะทำเฉพาะคัน Graphite และ คันที่เป็นปลาหงอก เกรดสูง B+ ขึ้นไปเท่านั้น  ซึ่ง Mo ค่อนข้างมากมายรอทำแบลงค์
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 2: 24 มิ.ย. 51, 16:57

ก่อนที่จะทำแบลงค์สำหรับตกปลาประเภทไหน  เริ่มที่การเลือกชนิดของ Graphite ออกมา ซึ่งผ้า Graphite ของ

ก่อนที่จะทำแบลงค์สำหรับตกปลาประเภทไหน  เริ่มที่การเลือกชนิดของ Graphite ออกมา ซึ่งผ้า Graphite ของที่นี่จะซื้อมาจากญี่ปุ่นในรูปแบบผ้าสำเร็จรูป ผ่านขั้นตอนการทอเป็นแผ่นเรียบร้อยแล้ว  ซึ่งจะต่างจากหลายๆโรงงานที่ได้ไปเยี่ยมชมที่นำเอาเส้น Graphite มาทอเป็นแผ่น  ซึ่งเท่าที่สอบถามกับเจ้าของโรงงาน  ข้อมูลที่ได้คือ  Graphite ที่สั่งมาจากญี่ปุ่น  จะมีการรับประกันเป็นลายลักษณ์อักษร  ซึ่ง Technology ของญี่ปุ่นจะเหนือกว่าในจุดนี้
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 3: 24 มิ.ย. 51, 16:58
กล่องระบุว่าเป็น Graphite ของ TORAY  ซึ่งได้รับการยอมรับว่า  เป็น Graphite ที่ค่อนข้างดี  เป็นที่ยอม
กล่องระบุว่าเป็น Graphite ของ TORAY  ซึ่งได้รับการยอมรับว่า  เป็น Graphite ที่ค่อนข้างดี  เป็นที่ยอมรับ
กระทู้: 9
ความเห็น: 599
ล่าสุด: 25-06-2566
ตั้งแต่: 23-03-2551
HooK<<>>JK(131 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 4: 24 มิ.ย. 51, 17:00
กระทู้: 13
ความเห็น: 1,887
ล่าสุด: 04-11-2566
ตั้งแต่: 15-02-2550
samapod(177 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 5: 24 มิ.ย. 51, 17:00
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 6: 24 มิ.ย. 51, 17:01

หลังจากนำผ้าออกมาแล้ว  จะมาตัดตามรูปของคันหรือทรง หรือแบบที่ต้องการใช้งาน

หลังจากนำผ้าออกมาแล้ว  จะมาตัดตามรูปของคันหรือทรง หรือแบบที่ต้องการใช้งาน
กระทู้: 59
ความเห็น: 793
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 03-06-2551
alices(163 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 7: 24 มิ.ย. 51, 17:04
โหวตก่อนเลยแล้วดูต่อ
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 8: 24 มิ.ย. 51, 17:06

หลังจากได้ผ้า Graphite ตามที่ต้องการแล้ว  จะนำมาม้วนให้ติดกับ Mo เหล็ก  โดยใช้ความร้อน  ซึ่ง Graph

หลังจากได้ผ้า Graphite ตามที่ต้องการแล้ว  จะนำมาม้วนให้ติดกับ Mo เหล็ก  โดยใช้ความร้อน  ซึ่ง Graphite โดนความร้อนเพียงเล็กน้อยก็จะติดกับวัสดุต่างๆแล้ว ซึ่งที่นี่ใช้เตารีดเล็กๆ  ซึ่งจะรีดให้ติด Mo เท่านั้น  ยังไม่ได้ทำการม้วนในขั้นตอนนี้ 
กระทู้: 28
ความเห็น: 2,459
ล่าสุด: 14-02-2567
ตั้งแต่: 17-01-2549
ak_along(237 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 9: 24 มิ.ย. 51, 17:07
แวะมาหาความรู้ด้วยคนครับ เฮีย 
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 10: 24 มิ.ย. 51, 17:09
ในภาพจะเห็นได้ชัดเจนว่า  จะใช้เตารีดให้ความร้อนในส่วนของ Mo แล้วจึงนำผ้า Graphite ไปทาบก็จะติดกับ Mo
ในภาพจะเห็นได้ชัดเจนว่า  จะใช้เตารีดให้ความร้อนในส่วนของ Mo แล้วจึงนำผ้า Graphite ไปทาบก็จะติดกับ Mo แล้วครับ 
ซึ่งในภาพกำลังทำแบลงค์ให้ **** ครับ  ซึ่งติดตามต่อไป
กระทู้: 17
ความเห็น: 470
ล่าสุด: 10-09-2566
ตั้งแต่: 27-12-2548
ความเห็นที่ 11: 24 มิ.ย. 51, 17:12
รอชมครับ
กระทู้: 17
ความเห็น: 612
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 21-12-2549
0607386054(20 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 12: 24 มิ.ย. 51, 17:13
คอยชมครับ
กระทู้: 14
ความเห็น: 2,106
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 02-04-2549
gio(244 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 13: 24 มิ.ย. 51, 17:14
รอชมด้วยคนครับ
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 14: 24 มิ.ย. 51, 17:16
ลักษณะของ Graphite จะเป็นเรียงของเส้นในลักษณะเส้นตรงแนวยาว  ( ซึ่งผมจะให้ชมภาพของอีกโรงงานหนึ่งที่ทอ
ลักษณะของ Graphite จะเป็นเรียงของเส้นในลักษณะเส้นตรงแนวยาว  ( ซึ่งผมจะให้ชมภาพของอีกโรงงานหนึ่งที่ทอผ้าเอง )  การใช้งาน Graphite ในส่วนของทำคัน **** จะใช้ Graphite ที่ค่อนข้างแข็งหรือสปริงตัวสูงมาก  ที่โรงงานเรียก Graphite ประเภทนี้ว่า 30T  ซึ่งคัน Graphite ที่ทำคันทั่วจะไปจะอยู่ที่ 20T - 24T  ดังนั้นต้องใช้วัสดุตัวหนึ่ง  ที่ช่วยเสริมแบลงค์ในแนวขวาง  ซึ่งวัสดุนี้สีขาวแต่ไม่ใช่ Fiber จะช่วยในการยืดหยุ่นแนวขวาง  ทำให้คันโค้งแล้วไม่หักง่าย หรือเพิ่มความเหนียว 
กระทู้: 7
ความเห็น: 574
ล่าสุด: 06-03-2567
ตั้งแต่: 28-06-2550
ความเห็นที่ 15: 24 มิ.ย. 51, 17:17
รออยู่ครับให้ไวไว555
กระทู้: 41
ความเห็น: 2,234
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 18-10-2549
ความเห็นที่ 16: 24 มิ.ย. 51, 17:17
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 17: 24 มิ.ย. 51, 17:18

ซึ่งจะมีการเรียงสลับไปมาตาม  จำนวนชั้นที่ต้องการ

ซึ่งจะมีการเรียงสลับไปมาตาม  จำนวนชั้นที่ต้องการ
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 18: 24 มิ.ย. 51, 17:20

หลังจากได้จำนวนชั้นตามต้องการแล้ว  จะนำไปเข้าเครื่องม้วนให้เป็นแบลงค์

หลังจากได้จำนวนชั้นตามต้องการแล้ว  จะนำไปเข้าเครื่องม้วนให้เป็นแบลงค์
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 19: 24 มิ.ย. 51, 17:21

ม้วนเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะเป็นลักษณะเช่นนี้ครับผม

ม้วนเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะเป็นลักษณะเช่นนี้ครับผม
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 20: 24 มิ.ย. 51, 17:25

หลังจากม้วนเรียบร้อยแล้ว  จะใช้พลาสสติกใสๆในภาพ  ซึ่งตัดเป็นหน้ากว้างประมาณ 0.5 นิ้วหรือ 1 cm มาพั

หลังจากม้วนเรียบร้อยแล้ว  จะใช้พลาสสติกใสๆในภาพ  ซึ่งตัดเป็นหน้ากว้างประมาณ 0.5 นิ้วหรือ 1 cm มาพันรอบแบลงค์ที่ม้วนแล้ว  เพื่อป้องกันการคลายตัว  ซึ่งพลาสสติกตัวนี้จะละลายตัวเคลือบตัวแบลงค์ไว้อีกทีเมื่อถูกความร้อน
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 21: 24 มิ.ย. 51, 17:26

นำแบลงค์เข้าเครื่องพันพลาสติก

นำแบลงค์เข้าเครื่องพันพลาสติก
กระทู้: 48
ความเห็น: 1,320
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 17-05-2545
ความเห็นที่ 22: 24 มิ.ย. 51, 17:27

แบลงค์ที่พันแล้ว

แบลงค์ที่พันแล้ว
กระทู้: 14
ความเห็น: 99
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 15-06-2551
plakapong(36 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 23: 24 มิ.ย. 51, 17:29
น่าสนใจมากครับ
กระทู้: 17
ความเห็น: 678
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 05-12-2550
phopkop1828(128 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 24: 24 มิ.ย. 51, 17:32
รีบ ๆ ชวนพรรคพวกเพื่อนฝูงมาชมด่วนเลย ได้ความรู้มากครับ จัดให้ 1 ดอกก่อนเลย วิธีการผลิตอาวุธคู่กายเรา เยี่ยมมาก ๆ ครับ 
กระทู้: 19
ความเห็น: 607
ล่าสุด: 29-02-2567
ตั้งแต่: 04-09-2547
yu(417 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 25: 24 มิ.ย. 51, 17:35
เยี่ยมมากๆครับ อยากไปชมด้วยจัง
หน้าที่: 1 | 2 | 3 | 4 | 5 >
siamfishing.com © 2024