หน้าแรก
|
กระดาน
|
รีวิว
|
ประมูล
|
ตลาด
|
เปิดท้าย
login
|
สมัครสมาชิก
|
วิธีสมัครสมาชิก
|
ลืมชื่อ/รหัส
|
login ไม่ได้?
|
22 ธ.ค. 67
ไปฟินที่น้ำเอ่อกับแพห้วยขาแข้งริเวอร์แคมป์: SiamFishing : Thailand Fishing Community
หน้าที่:
<
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
6
>
กระดาน
>
น้ำจืด
ความเห็น: 148 - [24 ต.ค. 57, 05:28] ดู: 31,184 - [22 ธ.ค. 67, 19:16] ติดตาม: 7 โหวต: 37
ไปฟินที่น้ำเอ่อกับแพห้วยขาแข้งริเวอร์แคมป์
กระทู้: 81
ความเห็น: 6,588
ล่าสุด: 06-10-2567
ตั้งแต่: 22-06-2554
หนึ่งคร้าบบ
(1548
)
ความเห็นที่ 76: 11 ต.ค. 57, 22:11
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 77: 12 ต.ค. 57, 09:44
อ้างถึง: Heat posted: 11 ต.ค. 57, 22:02
ตามชมครับน้า
อ้างถึง: หนึ่งคร้าบบ posted: 11 ต.ค. 57, 22:11
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 78: 12 ต.ค. 57, 09:45
มากันเรื่อยๆครับสำหรับปลากะมัง
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 79: 12 ต.ค. 57, 09:48
หน่วยเสบียงเริ่มเตรียมอาหารสำหรับมื้อเย็น
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 80: 12 ต.ค. 57, 09:53
มื้อค่ำสำหรับคืนแรกครับ
แสงสว่างในเวลากลางคืนใช้พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ที่ทางแพเตรียมไว้ให้โดยมีแหล่งพลังงานจากแสงอาทิตย์และแผงโซลาเซลล์
ซึ่งก็พอเพียงสำหรับหลอดไฟให้แสงสว่างในเวลากลางคืนเท่านั้นครับ
อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดอื่นไม่สามารถใช้ได้ ส่วนสัญญาณโทรศัพท์ไม่ต้องพูดถึงครับขาดการติดต่อโลกภายนอกโดยสิ้นเชิง
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 81: 12 ต.ค. 57, 09:56
อีกอย่างหนึ่งที่ต้องพูดถึงคือเรื่องแมลงในยามค่ำคืน
ที่นี่ยุงจะไม่ค่อยมีนะครับแต่เตีรียมเครื่องกันยุงไปบ้างเผื่อไว้ก็ดี
แต่ที่มีมากคือแมลงพวกนี้ครับจะมาตอนช่วงหัวค่ำลมนิ่งๆพอลมมาก็ไปสร้างความรำคาญให้พอสมควร
ทางที่ดีแนะนำนะครับทานมื้อค่ำให้เรียบร้อยก่อนมืดครับ ไม่งั้นจะมีแมลงพวกนี้มารบกวน
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 82: 12 ต.ค. 57, 10:05
ดูจากลักษณะแล้วคิดว่าน่าจะใช่ตัวนี้นะครับ เพลี้ยกระโดดครับ.......ตัวขนาดยุงเล็กๆ บินไวกว่ายุงนิดหน่อย ชอบมาเล่นแสงไฟ กัดเจ็บจี๊ดคล้ายยุง
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 83: 12 ต.ค. 57, 10:06
ถ้ามาอยู่กันทั้งคืนนี่ยอมครับ แต่เค้ามาแค่ไม่นานครับเป็นพักๆแล้วก็หายไป
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 84: 12 ต.ค. 57, 10:12
ผลงานเช้าวันต่อมาครับ เป็นปลากรายไซส์5กิโลมากินลูกเหยื่อลูกปลาตะเพียน
ปลากราย (อังกฤษ: Clown featherback, Clown knifefish; ชื่อวิทยาศาสตร์: Chitala ornata)
ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากราย (Notopteridae) มีปากกว้างมาก มุมปากอยู่เลยขอบหลังลูกตา ในตัวเต็มวัยส่วนหน้าผากจะหักโค้ง ส่วนหลังโก่งสูง ในปลาวัยอ่อนมีสีเป็นลายเสือคล้ายปลาสลาด แต่จะเปลี่ยนเป็นสีเทาเงินและมีจุดกลมใหญ่สีดำขอบขาวที่ฐานครีบก้นตั้งแต่ 3 - 20 ดวง ซึ่งมีจำนวนและขนาดแตกต่างกันออกไปในแต่ละตัว มีขนาดโดยเฉลี่ย 60 เซนติเมตร ใหญ่สุดที่พบคือ 1 เมตร หนัดถึง 15 กิโลกรัม
มักอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีกิ่งไม้ใต้น้ำหรือพืชน้ำค่อนข้างหนาแน่น อยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก อาหารได้แก่ ปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในแหล่งน้ำทั้งแหล่งน้ำนิ่งและแม่น้ำทั่วประเทศไทย แต่ปัจจุบันพบน้อยลงมาก ปลากรายนับเป็นปลาน้ำจืดอีกชนิดหนึ่งที่คนไทยนิยมบริโภค โดยเฉพาะใช้เป็นวัตถุดิบผลิตทอดมันหรือลูกชิ้น ราคาขายในตลาดจึงสูง ส่วนบริเวณเชิงครีบก้น เรียกว่าเชิงปลากราย ก็เป็นส่วนที่นิยมรับประทานโดยนำมาทอด แม้ว่าเนื้อจะมีก้างมาก แต่ก็เป็นที่นิยมเพราะมีรสชาติอร่อย นอกจากใช้เป็นอาหารแล้ว ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาเศรษฐกิจ เช่น เลี้ยงในท้องร่องสวน และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย ที่เลี้ยง ง่าย อดทน และจะมีราคาแพงยิ่งขึ้นในตัวที่จุดเยอะ หรือตัวที่สีกลายเป็นสีเผือก หรือสีทอง ขาว หรือในตัวที่เป็นปลาพิการ ลำตัวสั้นกว่าปกติ มีชื่อเรียกอื่น เช่น "หางแพน" ในภาษากลาง "ตอง" ในภาษาอีสาน "ตองดาว" ในภาษาเหนือ เป็นต้น
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 85: 12 ต.ค. 57, 10:14
เพื่อนสมาชิกพายเรือออกไปตกหมอตะกับตามตอไม้ ทางแพจะทิ้งเรือพายไว้ให้1ลำครับพร้อมทั้งเสื้อชูชีพขอได้ครบตามจำนวนคน
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 86: 12 ต.ค. 57, 10:16
1
ควายแม่ลูกลงมาหากินยามเช้า
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 87: 12 ต.ค. 57, 10:17
ตกค่ำวันที่2ลองเช็คยอดสมาชิกในกระชังถ่ายลงใส่ลังดูสักหน่อย
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 88: 12 ต.ค. 57, 10:19
1
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 89: 12 ต.ค. 57, 10:19
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 90: 12 ต.ค. 57, 10:20
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 91: 12 ต.ค. 57, 10:22
ถ่ายลงใส่ลังน็อคน้ำแข็งไว้ก่อนจะได้ไม่เสียของ ปลาพวกนี้เอากลับไปผ่าหลังใส่เกลือแดดเดียวครับ ไปกัน10คนติดไม้ติดมือกลับไปบ้านล่ะโลสองโล
กระทู้: 1
ความเห็น: 229
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 29-05-2556
pong9123
(10
)
ความเห็นที่ 92: 12 ต.ค. 57, 10:23
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 93: 12 ต.ค. 57, 10:23
เช้าวันถัดมาปลากินตลอดทั้งวันทั้งคืน
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 94: 12 ต.ค. 57, 10:25
อุปสรรคใต้น้ำเป็นเรื่องธรรมดาของหมายธรรมชาติ มีขาดมีหลุดกันไปบ้างครับ
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 95: 12 ต.ค. 57, 10:27
เช้าๆอากาศดีมากๆช่วงนี้อากาศยังไม่ค่อยเย็นเท่าไหร่ฝนยังคงมีตกอยู่บ้างครับ
แต่น้ำในเขื่อนก็ยังไม่มากเท่าที่ควร เป็นสัญญาณบอกได้เลยครับว่าปีนี้เกษตกรบ้านเราต้องเจอกับภัยแล้งแน่ๆ
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 96: 12 ต.ค. 57, 10:28
ตักตวงบรรยากาศให้อิ่มเอิบกันก่อนจะลา
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 97: 12 ต.ค. 57, 10:29
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 98: 12 ต.ค. 57, 10:29
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 99: 12 ต.ค. 57, 10:30
ยังคงใจจดใจจ่อกันอยู่ปลาก็กินเรื่อยๆครับ
กระทู้: 46
ความเห็น: 1,096
ล่าสุด: 06-12-2567
ตั้งแต่: 24-07-2549
anakkadej
(767
)
ความเห็นที่ 100: 12 ต.ค. 57, 10:35
2
ปลาบู่ปลาเนื้อดีอีกชนิดที่เข้ามากินเหยื่อลูกปลา
ปลาบู่ทราย หรือ ปลาบู่ทอง (อังกฤษ: Sleepy goby, Marbled sleeper) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oxyeleotris marmorata ในวงศ์ปลาบู่ทราย (Eleotridae)
ลักษณะลำตัวกลมยาว ความลึกลำตัวประมาณ 1 ใน 3.5 ของความยาวมาตรฐานลำตัว ส่วนหัวยาวเป็น 1 ใน 2.8 ของความยาวมาตรฐานของลำตัว หัวค่อนข้างโต และด้านบนของหัวแบนราบ หัวมีจุดสีดำประปราย ปากกว้างใหญ่เปิด ทางด้านบนตอนมุมปากเฉียงลงและยาวถึงระดับกึ่งกลางตา ขากรรไกรล่างยื่นยาวกว่าขากรรไกรบน ทั้งขากรรไกรบนและล่างมีฟันแหลมซี่เล็ก ๆ ลักษณะฟันเป็นฟันแถวเดียว ลูกตาลักษณะโปนกลมอยู่บนหัวถัดจากริมฝีปากบนเล็กน้อย รูจมูกคู่หน้าเป็นหลอดยื่นขึ้นมาอยู่ติดกับร่องที่แบ่งจงอยปากกับริมฝีปากบน ครีบหูและครีบหางมีลักษณะกลมมนใหญ่ มีลวดลายดำและสลับขาว มีก้านอ่อนอยู่ 15-16 ก้าน ครีบหลัง 2 ครีบ ครีบอันหน้าสั้นเป็นหนาม 6 ก้าน เป็นก้านครีบสั้นและเป็นหนาม ครีบอันหลังเป็นก้านครีบอ่อน 11 ก้าน ครีบท้องหรือครีบอกอยู่แนวเดียวกับครีบหูและมีก้านครีบอ่อน 5 ก้าน สีลำตัวสีน้ำตาลเหลืองมีรอยปื้นสีดำกระจายไปทั่วตัว ในบางตัวสีอาจกลายเป็นสีเหลืองทองได้ จึงทำให้ได้ชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า "ปลาบู่ทอง" มีขนาดลำตัวประมาณ 30 เซนติเมตร ใหญ่ที่สุด 60 เซนติเมตร จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Oxyeleotris
พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดทุกประเภทของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาจพบได้ในแหล่งน้ำกร่อยด้วย สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค มีพฤติกรรมชอบอยู่นิ่ง ๆ กับพื้นน้ำเพื่อล่าเหยื่อ อาหารได้แก่ ปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า ปลาบู่ทราย จัดเป็นปลาที่ผูกพันกับวิถีชีวิตคนไทยมากชนิดหนึ่ง ดังจะเห็นได้จากนิทานพื้นบ้านของภาคกลางเรื่อง ปลาบู่ทอง เป็นต้น จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่สำคัญชนิดหนึ่ง โดยนิยมใช้เนื้อบริโภคกันมาช้านาน มีราคาขายที่แพง ปัจจุบัน นิยมเพาะเลี้ยงกันอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้แล้วในตัวที่มีสีกลายไปจากสีปกติ เช่น สีทองหรือสีเงิน พบมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วยเช่นในภาคใต้จะมีการเลี้ยงไว้เพราะเชื่อว่าจะนำโชคลาภมาให้ และเรียกปลาชนิดนี้ว่าปลาครีบทอง ตามสีที่ปรากฏนี้เอง
หน้าที่:
<
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
6
>
siamfishing.com © 2024
siamfishing.com/board/view.php?begin=75&tid=669859