สยามฟิชชิ่ง
หน้าแรก|กระดาน|รีวิว|ประมูล|ตลาด|เปิดท้าย
login | สมัครสมาชิก | วิธีสมัครสมาชิก | ลืมชื่อ/รหัส | login ไม่ได้? | 22 พ.ย. 67
^.^.. หนีห่าว สยามฟิชชิ่งดอทคอม....^.^: SiamFishing : Thailand Fishing Community
หน้าที่:<< < | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 > >>ทุกหน้า
 กระดาน > อื่นๆ
ความเห็น: 383 - [9 ต.ค. 53, 06:12] ดู: 65,879 - [22 พ.ย. 67, 21:29] โหวต: 103
^.^.. หนีห่าว สยามฟิชชิ่งดอทคอม....^.^
กระทู้: 15
ความเห็น: 5,809
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 16-09-2552
ความเห็นที่ 251: 1 ต.ค. 53, 08:13

อยากไปนำเด้ อ้ายโตโต้.ตตตตตตตตตตตตตตตตต
กระทู้: 56
ความเห็น: 16,492
ล่าสุด: 20-11-2567
ตั้งแต่: 07-08-2549
ความเห็นที่ 252: 1 ต.ค. 53, 08:20
+รอชมครับน้าโตโต้ 
กระทู้: 0
ความเห็น: 252
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 16-03-2553
ความเห็นที่ 253: 1 ต.ค. 53, 08:29
กระทู้: 139
ความเห็น: 17,884
ล่าสุด: 30-04-2567
ตั้งแต่: 19-09-2550
ความเห็นที่ 254: 1 ต.ค. 53, 08:31
หนีห่าวขอรับน้าโตโต้
ดูภาพแล้วเหมือนได้นั่งเครื่องบินไปด้วยจริงๆ
กระทู้: 22
ความเห็น: 2,914
ล่าสุด: 22-06-2567
ตั้งแต่: 08-01-2551
ความเห็นที่ 255: 1 ต.ค. 53, 08:33
ไปด้วยครับบบ
กระทู้: 5
ความเห็น: 3,335
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 14-12-2552
ความเห็นที่ 256: 1 ต.ค. 53, 08:36
++++ตามมาหนาวด้วยคนจ๊ะ 
กระทู้: 1
ความเห็น: 2,203
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 27-02-2552
tang001(2 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 257: 1 ต.ค. 53, 08:39
กระทู้: 45
ความเห็น: 16,831
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 19-01-2552
neenan(999 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 258: 1 ต.ค. 53, 08:47
+
กระทู้: 17
ความเห็น: 5,352
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 13-10-2552
ความเห็นที่ 259: 1 ต.ค. 53, 09:00
กระทู้: 8
ความเห็น: 2,741
ล่าสุด: 05-08-2567
ตั้งแต่: 18-10-2552
ELastiCz(141 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 260: 1 ต.ค. 53, 09:01
ตามชมด้วยจ๊ะ
กระทู้: 42
ความเห็น: 3,107
ล่าสุด: 11-09-2567
ตั้งแต่: 16-02-2550
ความเห็นที่ 261: 1 ต.ค. 53, 09:22
กระทู้: 125
ความเห็น: 18,427
ล่าสุด: 22-11-2567
ตั้งแต่: 18-05-2552
fridaynoop(11111 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 262: 1 ต.ค. 53, 09:26
หวัดดีจ้าน้าโตโต้.....ทริปสวยๆขาวๆ  ชอบๆๆๆๆ  ขอตามเป็นลูกทัวร์ด้วยคนคร้าบบบบบบบบบบบบ+

กระทู้: 19
ความเห็น: 1,836
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 09-11-2548
BIG ONE(569 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 263: 1 ต.ค. 53, 09:28
....มีต่ออีกป่าว ครับ กำลังมันเลย

กระทู้: 3
ความเห็น: 731
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 26-10-2552
ความเห็นที่ 264: 1 ต.ค. 53, 09:36
++++สนุกจริงๆๆงานนี้
กระทู้: 131
ความเห็น: 9,106
ล่าสุด: 26-05-2567
ตั้งแต่: 29-06-2548
phayao(4105 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 265: 1 ต.ค. 53, 09:40

ดูสนุก  ชมเพลินจริงๆครับน้าโต้  จัดมาอีกเรื่อยๆเลยครับ ชอบๆๆๆ 
กระทู้: 0
ความเห็น: 1,007
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 29-07-2553
ความเห็นที่ 266: 1 ต.ค. 53, 09:43
+ ครับน้าโต้...อย่าพึ่งหยุด..กำลังมันส์...ต่อเลยครับบบ
กระทู้: 54
ความเห็น: 4,711
ล่าสุด: 22-11-2567
ตั้งแต่: 16-12-2550
ความเห็นที่ 267: 1 ต.ค. 53, 09:45
+
กระทู้: 2
ความเห็น: 1,735
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 04-08-2550
acs10842(18 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 268: 1 ต.ค. 53, 09:47
น้าแกตื่นยังก็ไม่รู้ มารอน้าโตโต้ตั้งแต่สายๆเลยครับ   
กระทู้: 15
ความเห็น: 3,115
ล่าสุด: 25-05-2567
ตั้งแต่: 30-09-2552
dewfish(633 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offlineใบดำ
ความเห็นที่ 269: 1 ต.ค. 53, 09:58
กระทู้: 49
ความเห็น: 9,801
ล่าสุด: 31-08-2567
ตั้งแต่: 23-09-2551
ความเห็นที่ 270: 1 ต.ค. 53, 10:12
หนีห่าวกันอีกรอบ   วันนี้เป็นวันชาติจีนครับ  ทักทายรวมๆไปก่อนนะครับ แถมเกร็ดความรู้เรื่องวันชาติจีนใ
หนีห่าวกันอีกรอบ  วันนี้เป็นวันชาติจีนครับ  ทักทายรวมๆไปก่อนนะครับ แถมเกร็ดความรู้เรื่องวันชาติจีนให้นิดหน่อยด้วยครับ


1 ตุลาคมของทุกปี เป็นวันชาติจีน 
กระทู้: 121
ความเห็น: 23,146
ล่าสุด: 21-10-2567
ตั้งแต่: 05-02-2552
ความเห็นที่ 271: 1 ต.ค. 53, 10:12
หวัดดีคร้าบบ น้าโตโต้......................
กระทู้: 49
ความเห็น: 9,801
ล่าสุด: 31-08-2567
ตั้งแต่: 23-09-2551
ความเห็นที่ 272: 1 ต.ค. 53, 10:14
วันชาติจีน 

       คำว่า “กั๋วชิ่ง(国庆)” ในภาษาจีนหมายถึง กิจกรรมเฉลิม
วันชาติจีน

      คำว่า “กั๋วชิ่ง&#65288;&#22269;&#24198;&#65289;” ในภาษาจีนหมายถึง กิจกรรมเฉลิมฉลองการสถาปนาประเทศ ปรากฏครั้งแรกในยุคราชวงศ์จิ้นตะวันตก &#65288;&#35199;&#26187;&#65289; ทั้งนี้ สามารถสืบค้นได้จากผลงานประพันธ์ของลู่จี &#65288;&#38470;&#26426;&#65289; นักประพันธ์ที่มีชีวิตอยู่ในยุคดังกล่าว อย่างไรก็ดี การเฉลิมฉลองวันชาติที่นับว่าเป็นเรื่องใหญ่ กลับไม่ได้มีความสลักสำคัญเท่ากับวันพระราชสมภพ &#65288;&#35806;&#36784;&#65289; และวันขึ้นครองราชย์&#65288;&#30331;&#20301;&#65289; ของกษัตริย์แต่อย่างใด (ในสมัยราชวงศ์ชิงถึงกับขนานนามวันพระราชสมภพว่าเป็น “เทศกาลหมื่นปี” &#19975;&#23681;&#33410;) ดังนั้น ชาวจีนโบราณจึงรวมเรียกวันที่กษัตริย์เสด็จขึ้นครองราชย์และวันพระราชสมภพว่าเป็น “วันชาติจีน” ขณะที่ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน &#65288;&#20013;&#21326;&#20154;&#27665;&#20849;&#21644;&#22269;&#65289; กลับยึดเอาวันสถาปนาประเทศเป็นวันชาติโดยถือเอาวันที่ 1 เดือนตุลาคมของทุกปี

      ก่อนที่จะมีการกำหนดวันดังกล่าวให้เป็นวันชาติจีนใหม่ ทางคณะรัฐบาลยุคนั้นซึ่งนำโดยประธานาธิบดีเหมาเจ๋อตง      &#65288;&#27611;&#27901;&#19996;&#65289; ได้เตรียมการหลายอย่างเพื่อการนี้ จึงเป็นที่มาของสัญลักษณ์ธงประจำชาติ พิธีการชักธงขึ้นสู่ยอดเสาที่ตั้งตระหง่านอยู่บริเวณหน้าจัตุรัสเทียนอันเหมิน &#65288;&#22825;&#23433;&#38376;&#24191;&#22330;&#65289; ตลอดจนเพลงชาติและพิธีกรรมต่างๆ ที่ผู้นำจีนใหม่ทุกยุคทุกสมัยล้วนปฏิบัติสืบต่อกันเป็นธรรมเนียม
กระทู้: 47
ความเห็น: 2,761
ล่าสุด: 06-11-2567
ตั้งแต่: 03-06-2552
pound(955 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 273: 1 ต.ค. 53, 10:19
++
กระทู้: 49
ความเห็น: 9,801
ล่าสุด: 31-08-2567
ตั้งแต่: 23-09-2551
ความเห็นที่ 274: 1 ต.ค. 53, 10:24
เริ่มจากวันที่ 6–8 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1949 คณะรัฐบาลกลางร่วมประชุมกันที่เนินเขาซีป๋อ ตำบลผิงซานมณฑล
เริ่มจากวันที่ 6–8 เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1949 คณะรัฐบาลกลางร่วมประชุมกันที่เนินเขาซีป๋อ ตำบลผิงซานมณฑลเหอเป่ย  การประชุมในครั้งนั้นมีผู้เสนอญัตติให้มีแถลงการณ์สถาปนาประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนขึ้นอย่างเป็นทางการ และมีการจัดตั้งรัฐบาลกลางเพื่อร่วมร่างนโยบายบริหารประเทศ นำไปสู่การเปิดประชุมวิสามัญครั้งแรกของคณะบริหารประเทศ ณ กรุงปักกิ่งระหว่างวันที่ 21–29 เดือนกันยายนปีเดียวกัน จากนั้น จึงมีการกำหนดร่างกฎหมายของคณะรัฐบาลให้มีการกำหนดเมืองหลวงของประเทศ ธงประจำชาติ เพลงชาติ ตลอดจนการเริ่มใช้ศักราชจีนใหม่โดยที่ประชุมลงมติให้เหมาเจ๋อตงเป็นผู้นำรัฐบาล และมีจูเต๋อ หลิวเซ่าฉี ซ่งชิ่งหลิง หลี่จี้เซิน จางหลัน และเกากั่งเหวย ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดี พร้อมกันนี้ยังมีการเลือกคณะกรรมการบริหารประเทศจำนวน 180 คน

      ทั้งนี้ กว่าที่จะมีการกำหนดใช้ธง 5 ดาวบนพื้นสีแดงดังในปัจจุบัน ทางคณะกรรมการได้เคยประกาศให้ประชาชนทั่วไปส่งผลงานการออกแบบธงชาติจีนตามความคิดของตนโดยไม่มีการกำหนดข้อจำกัดใดๆ ทั้งสิ้น ผลปรากฏว่า เมื่อคณะกรรมการพิจารณาจากผลงานที่เข้ารอบแล้ว ต่างลงความเห็นว่า ธงชาติรูปที่มีด้ามเคียวและขวานบนดาวดวงใหญ่ 1 ดวงกับดาวดวงเล็กอีก 4 ดวงถือว่าเหมาะสมที่สุด แต่เนื่องจากมีความคล้ายคลึงกับธงชาติของประเทศสหภาพโซเวียต ในยุคนั้นซึ่งอาจทำให้คนทั่วไปเกิดความสับสน ยิ่งไปกว่านั้น ในฐานะที่เป็นประเทศเอกราช ธงชาติจึงจำเป็นต้องมีความเป็นเอกเทศ ด้วยเหตุผลเหล่านี้ทำให้รูปแบบของธงดังกล่าวไม่ผ่านการเห็นชอบจากคณะผู้จัดทำ แต่หลังจากที่เผิงกวงหาน ผู้รับผิดชอบเรื่องการออกแบบธงรายงานต่อประธานเหมาฯ แล้ว ท่านกลับไม่เห็นชอบกับรูปแบบธงชนิดอื่นๆ ที่ผ่านเข้ารอบ เว้นแต่รูปแบบของธงผืนข้างต้น และเสนอให้ลบภาพเคียวและขวานออก จึงเหลือเป็นธงที่มีดาว 5 ดวงบนพื้นสีแดง จากนั้นก็เปลี่ยนมาเรียกเป็น “ธง 5 ดาวบนพื้นแดง”
กระทู้: 49
ความเห็น: 9,801
ล่าสุด: 31-08-2567
ตั้งแต่: 23-09-2551
ความเห็นที่ 275: 1 ต.ค. 53, 10:27
 ขณะที่ “เพลงมาร์ชทหารหาญ” หรือเพลงชาติของจีนปรากฏครั้งแรกในปี ค.ศ. 1935 โดยมีเถียนฮั่น เป็นผู้ประพั
ขณะที่ “เพลงมาร์ชทหารหาญ” หรือเพลงชาติของจีนปรากฏครั้งแรกในปี ค.ศ. 1935 โดยมีเถียนฮั่น เป็นผู้ประพันธ์เนื้อร้องและเนี่ยเอ่อ เป็นผู้ประพันธ์ทำนองเพลง เดิมทีใช้เป็นเพลงนำภาพยนตร์เรื่อง “เฟิง อวิ๋นเอ๋อร์หนี่ว์” ซึ่งบรรยายเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังวันที่ 18 กันยายน เมื่อลัทธิจักรวรรดินิยมญี่ปุ่นเข้ายึดครองมณฑลเฮยหลงเจียง มณฑลจี๋หลิน  และมณฑลเหลียวหนิง  อำนาจอธิปไตยของประเทศตะวันตกอยู่ในภาวะหน้าสิ่วหน้าขวาน หลังจากที่เถียนฮั่นเขียนบทภาพยนตร์เรื่องนี้เสร็จ กลับถูกทางรัฐบาลจับกุม แต่เนื่องจากเนี่ยเอ่อมีความมานะจึงทำทุกวิถีทางเพื่อผลักดันให้ภาพยนตร์เรื่องดังกล่าวออกฉาย หลังจากนั้นไม่นาน เพลงปลุกใจบทนี้ได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อต้านการรุกรานจากต่างชาติหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็นช่วงเหตุการณ์โค่นล้มเจียงไคเช็ก และการต่อสู้เพื่ออธิปไตยของกองทัพปลดแอก จนสามารถสถาปนาเป็นประเทศเอกราชที่ปกครองภายใต้ระบบสังคมนิยมในที่สุด

      จวบจนปัจจุบัน ต้นเสาที่ใช้ในการเชิญธงชาติจีนขึ้นสู่ยอดบริเวณจัตุรัสเทียนอันเหมินนั้นผ่านการบูรณะเพิ่มเติมเพียงครั้งเดียว กล่าวคือ เสาต้นเดิมที่เหมาเจ๋อตงเป็นผู้เชิญธงขึ้นสู่ยอดเสาเป็นครั้งแรกในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1949 นั้น มีความสูงเพียง 22 เมตร ต่อมาในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1991 มีการซ่อมแซมเพิ่มเติม โดยเพิ่มความสูงขึ้นเป็น 32.6 เมตร เหตุที่มีการซ่อมแซมเพิ่มเติมนั้นเกิดจากปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ เสาต้นเดิมผ่านการใช้งานนานนับ 42 ปี จึงเกิดการสึกกร่อน ขณะเดียวกัน ช่วงเวลานั้น มีกลุ่มสิ่งปลูกสร้างที่มีความโอ่อ่าและสูงตระหง่านอย่างหอประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติจีน พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ และหอรำลึกเหมาเจ๋อตง ที่สร้างขึ้นใหม่บริเวณจัตุรัสแห่งนี้ ส่งผลให้เสาเชิญธงต้นเดิมมีความสูงลดหลั่นจากสิ่งปลูกสร้างอื่นอย่างชัดเจน ไม่เข้ากับสิ่งปลูกสร้างสมัยใหม่เหล่านี้ เสาต้นใหม่ที่ผ่านการบูรณะสามารถแบ่งเป็น 3 ชั้น เริ่มจากการการปูหยกขาวที่มีความสูง 80 เซนติเมตร ล้อมรอบโคนเสาชั้นใน มีทางเดินเข้าออกด้านซ้ายและขวาที่มีความกว้างขนาด 2 เมตร ชั้นกลางปูด้วยหินลวดลายสีแดงล้อมบริเวณโคนเสาธงโดยรอบ มีความกว้าง 2 เมตรกว่า การใช้สีแดงเพื่อสื่อความหมายถึง “เลือดรักชาติของประชาชนชาวจีน” ชั้นนอกสุดเป็นพื้นสีเขียวที่มีความกว้าง 5 เมตร ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเกียรติภูมิแห่งมาตุภูมิ บริเวณทั้งสี่ด้านของแท่นเสาธงจะล้อมรั้วที่ทำด้วยทองเหลือง 56 อัน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการร่วมมือร่วมใจของชาวจีนทั้ง 56 ชนชาติ ภายใต้ธงแดง 5 ดาวผืนนี้



ขอบคุณข้อมูล จาก http://blog.eduzones.com/olce/10320 
หน้าที่:<< < | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 > >>ทุกหน้า
siamfishing.com © 2024
siamfishing.com/board/view.php?begin=250&onlyuserid=0&tid=86691