สยามฟิชชิ่ง
หน้าแรก|กระดาน|รีวิว|ประมูล|ตลาด|เปิดท้าย
login | สมัครสมาชิก | วิธีสมัครสมาชิก | ลืมชื่อ/รหัส | login ไม่ได้? | 22 พ.ย. 67
ขุนด่าน จะเป็นอย่างไร ถ้าไปตกกระสูบ แล้วไม่ขนกลับ ถ้าไม่เริ่มทำเสียแต่วันนี้ : SiamFishing : Thailand Fishing Community
หน้าที่:< 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 >
 กระดาน > น้ำจืด
ความเห็น: 180 - [17 ก.ค. 57, 01:54] ดู: 18,757 - [22 พ.ย. 67, 15:25]  ติดตาม: 2 โหวต: 51
ขุนด่าน จะเป็นอย่างไร ถ้าไปตกกระสูบ แล้วไม่ขนกลับ ถ้าไม่เริ่มทำเสียแต่วันนี้
กระทู้: 0
ความเห็น: 316
ล่าสุด: 25-06-2567
ตั้งแต่: 17-12-2555
ความเห็นที่ 26: 23 มิ.ย. 57, 16:09
เห็นด้วยครับ มีให้เห็นมากมาย แต่ก่อนออกไปตกเมื่อไรก็ได้ตัว แต่ตอนนี้ ออกไปเป็นวันยังไม่มีกัดเลย และ ขอเถอะ เพื่อนๆ ปลาลูกครอก อย่าตกมันเลยครับ ยิ่งลูกครอกปลาช่อนเมื่อแม่ไม่อยู่โอกาศรอดแถบไม่มีเลย ตอนนี้หาตัวใหญ่ๆยากขึ้นทุกที ขอบคุณเจ้าของกระทู้ครับ +10 
กระทู้: 29
ความเห็น: 2,210
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 01-08-2553
figoseed(534 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 27: 23 มิ.ย. 57, 16:12
ตก เอา แต่ พอดี  ดี ที่ สุด ครับ

กระทู้: 0
ความเห็น: 27
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 29-09-2552
ความเห็นที่ 28: 23 มิ.ย. 57, 16:14
กระทู้: 23
ความเห็น: 1,332
ล่าสุด: 11-11-2567
ตั้งแต่: 03-03-2552
larsawat(555 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 29: 23 มิ.ย. 57, 16:15
กระทู้: 0
ความเห็น: 47
ล่าสุด: 18-09-2567
ตั้งแต่: 24-12-2553
ความเห็นที่ 30: 23 มิ.ย. 57, 16:15
อ้างถึง: Rungmin posted: 23-06-2557, 15:03:05

                                                                          Catch-and-Release: ความเป็นมาและพัฒนาการ 

                                ไม่ใช่พวกโลกสวยนะครับแต่เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งอ่านแล้วเป็นบทความที่ดี ปลาเนื้อไม่อร่อย ฤดูวางไข่ ลองอ่านดูนะครับ

                                                                (เรียบเรียงจาก Ken Schultz's fishing encyclopedia, 1st ed. 2000)

  ความเป็นมา

"Catch-and-Release" หมายถึงแนวทางการปฏิบัติในการจับปลาด้วยอุปกรณ์ตกปลาและปล่อยไปขณะยังมีชีวิต เป็นแนวทางที่มีรากฐานมาจากจริยธรรม และวัฒนธรรมของการตกปลา และยึดถือปฎิบัติโดยสมัครใจมาเป็นเวลายาวนานในหมู่นักตกปลาบางส่วน

ในแง่ที่เป็นเรื่องของความสมัครใจ catch-and-release จึงเป็นเรื่องของส่วนบุคคล หากไม่ใช่เป็นเพื่อจริยธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ผู้ที่ยึดถือปฎิบัตบางท่านจึงเชื่อว่า สปิริตของ catch-and-release จะมีความหมายเป็นพิเศษก็ต่อเมื่อ ยึดถือปฎิบัติโดยสมัครใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปลาตัวนั้นมีขนาดใหญ่ หรือหาพบได้ยาก

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นเรื่องของความสมัครใจ ได้เริ่มกลายเป็นข้อบังคับทางกฏหมาย (ของอเมริกา - ผู้เรียบเรียง) สำหรับปลาในบางขนาด บางจำนวน บางชนิด ดังนั้น catch-and-release จึงได้กลายเป็นทั้งเรื่องจริยธรรม และนโยบายของรัฐ

ถึงกระนั้นก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความเชื่อส่วนตัว หรือแนวทางการจัดการของรัฐ  catch-and-release ก็ยังคงเป็นเรื่องที่ใช้เวลานานสำหรับที่จะทำให้คนจำนวนมากได้ยอมรับ เป็นเรื่องได้รับการถกเถียงกันในวงกว้างโดยนักตกปลาและกรมประมง และยังคงดำเนินต่อไป ตราบเท่าที่ยังมีเรื่องที่ต้องเรียนรู้ถึงสิ่งที่มีผลกระทบต่อการรอดชีวิตของปลาที่ตกได้และปล่อยไป และเคียงคู่ไปกับการที่นักตกปลาต้องเรียนรู้และปฎิบัติอย่างเหมาะสมต่อการนำปลาขึ้นจากน้ำ การถือ และการปล่อยกลับคืนไป

พัฒนาการของกฎหมาย

แนวความคิดในการปล่อยปลาที่ไม่ต้องการบริโภค ทั้งที่สามารถเก็บไว้ตามกฎหมาย ได้พัฒนามาจากนักตกปลาหลายกลุ่ม อาทิเช่น นักตกปลามากประสบการณ์ที่ตกปลาได้ตามจำนวน หรือได้ชนิดที่ต้องการแล้ว จึงไม่ต้องการเพิ่มอีก นักตกปลาที่ปรารถนาจะสนุกกับการตกต่อไป จึงไม่เก็บปลาไว้ตามจำนวนที่ถูกกำหนดไว้ และนักตกปลาที่ตระหนักว่าการยิ่งนำปลาบางขนาด หรือบางชนิดที่กำหนด จากบริเวณใดๆ อาจมีผลกระทบที่เลวร้ายต่ออนาคตต่อประชากรปลาในบริเวณนั้น

catch-and-release มีจุดเริ่มมาจากความยึดถือ และทางเลือกของบุคคล และพัฒนามาเป็นกระแสความเคลื่อนไหว เนื่องจากการเรียกร้องของกลุ่มนักตกปลาในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงปี 1960 และปี 1970 ส่วนปัจจัยอื่นก็เนื่องมาจากการการพัฒนาการของอุปกรณ์ตกปลา ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปลาที่มากขึ้น และสภาวะคับขันของจำนวนปลา  แหล่งหาปลาขึ้นชื่อหลายแห่งในอเมริกา มีจำนวนปลาลดลงอย่างมาก หรือหมดไป หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ไม่กี่สิบปี  ถึงแม้จะมีปัจจัยมากมาย และในหลากหลายระดับ ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งก็คือมลภาวะทางน้ำและทางอากาศ แหล่งที่อยู่อาศัยถูกทำลายหรือเปลี่ยนแปลง การจับปลาในเชิงพาณิชย์ และการตกปลาเป็นเกมกีฬา

ความพยายามในการตกปลาทั้งน้ำจืดและทะเล มักพุ่งเป้าหมายเฉพาะกับปลาบางชนิดที่ให้ความรู้สึกพิเศษในการตก แบส เทร้าท์ แซลมอล คราปปี้ และวอไลย์ เป็นตัวอย่างปลาน้ำจืดที่ได้รับความนิยมในระดับต้นๆ สไตรด์แบส เรดฟิช ทาร์ปอน ทูน่า และปลากระโทง เป็นปลาทะเลชั้นนำ ก่อนที่ประชากรของปลาเหล่านี้ และปลาที่ได้รับความนิยมอื่นๆ จะลดลงอย่างมาก และก่อนที่กระแสการตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องอนุรักษ์ นักตกปลามักจะเก็บปลาแทบทุกตัวที่ตกได้ จนกระทั้งข้อบังคับเกี่ยวกับฤดูกาล วิธีการจับ ความยาวขั้นต่ำ ได้ถูกกำหนดขึ้น

ในช่วงหนึ่ง นักตกปลารวมทั้งสาธารณะชนโดยทั่วไป เชื่อว่าการตกปลาเพื่อสันทนาการไม่ได้เป็นภัยคุกคามต่อระดับประชากรของปลา โดยเฉพาะในน้ำจืดที่การทำประมงเป็นปัจจัยรองกว่าในทะเล  ทุกวันนี้เป็นที่เข้าใจกันแล้วว่าไม่ได้เป็นเช่นนั้น  นักตกปลาที่มีความชำนาญจำนวนหนึ่งสามารถที่จะพลาญประชากรของปลาได้แทบทุกปลาชนิด ในช่วงเวลาหนึ่งหากไม่ได้รับการดูแล  ในบางสถานการณ์นักตกปลาที่ความชำนาญสามารถที่จะทำเช่นนั้นได้ในช่วงระยะเวลาอันสั้น ทั้งๆที่ปฎิบัติตามข้อกำหนดก็ตาม  แม้ว่าเขาจะไม่ได้จับปลาไปทั้งหมด แต่เขายังคงสามารถที่จะสร้างผลกระทบอย่างมากต่อสมดุลย์ของประชากรปลา โดยการเลือกที่จะตกปลาบางพันธุ์ หรือเลือกที่จะเก็บปลาบางขนาดโดยเฉพาะปลาที่มีขนาดใหญ่  ตัวอย่างเช่น ความพยายามอย่างยิ่งในการตกปลาเลคเทร้าท์ขนาดใหญ่ทางตอนเหนือของแคนนาดา ได้ทำให้ปลาเลคเทร้าท์ซึ่งเติบโตได้ช้า ในขนาดโทรฟี้แทบจะหมดไปในช่วงปลายปี 1950 จนถึงปี 1970

การตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป และในหลายกรณีเป็นการเรียกร้องจากองค์กรนักตกปลาต่างๆ ในที่สุดกรมประมงก็ได้กำหนดจำนวนปลาที่จะนำขึ้นได้จากเดิมไม่ได้กำหนดไว้เลย กำหนดฤดูกาล กำหนดชุดปลายสาย รวมทั้งการฟื้นฟูแหล่งที่อยู่อาศัย

กฎข้อบังคับของกรมประมงในเรื่อง ขนาด จำนวน และฤดูกาล ถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้โอกาสปลาขนาดเล็กได้เติบโตเต็มที่ และแพร่ขยายพันธุ์  ซึ่งเป็นความจริงอย่างมากในน้ำจืด และลดระดับลงมาในน้ำทะเล  บางข้อถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์บางอย่างโดยเฉพาะ เช่น เพื่อรักษาปลาในระดับโทรฟี่ในบางพันธุ์ ในบางทะเลสาบ การปล่อยปลาขนาดใหญ่นี้ถูกมองว่าเป็นแนวทางที่มุ่งหวังการแพร่พันธุ์ และการสงวนปลาขนาดใหญ่ไว้  ในบางข้อดูเหมือนจะมีเป้าหมายในทางตรงกันข้ามโดยกำหนดให้นำปลาบางขนาดขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อรักษาสมดุลย์ประชากรของปลาในหลากหลายขนาด (หลากหลายช่วงอายุ) เนื่องจากปลาที่ถูกตกได้และเก็บไว้ มักจะเป็นขนาดใหญ่ และการทำเช่นนี้อย่างต่อเนื่อง ย่อมทำให้ประชากรปลาขาดความสมดุลย์

ดังนั้นภายใต้กฎหมาย นักตกปลาต้องปล่อยปลาที่ตกได้นอกฤดูกาลที่กำหนด หรือปลาที่ขนาดเล็กหรือใหญ่กว่ากำหนด หรือปลาที่มีจำนวนเกินกว่าที่กำหนดสำหรับพันธุ์นั้น  นอกจากนี้ในบางพื้นที่ยังกำหนดให้ ปล่อยปลาที่ถูกตกได้หากปลาติดเบ็ดอย่างไม่ถูกต้อง ข้อบังคับนี้เป็นเรื่องของการกีฬา มากกว่าที่จะเป็นเรื่องการจัดการทรัพยากรณ์
สำหรับคนที่ไม่ใช่นักตกปลาแล้ว การปล่อยปลาไปดูจะเป็นเรื่องที่ไร้เหตุผล เมื่อพิจารณาจากค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ความไม่แน่นอนว่าจะตกได้หรือไม่ และการปฏิเสธแหล่งอาหารที่สดและมีคุณค่าต่อร่างกาย นอกเสียจากว่ากระทำไปเพราะกฎหมายกำหนด  ในแง่ของการบริโภคแล้ว การปล่อยปลาที่จับมาได้ เมื่อไม่มองในแง่กีฬา ดูจะเป็นเรื่องขัดแย้งกับการแนวทางการหาเลี้ยงชีพของมนุษยชาติ  จะว่าไปแล้ว เกือบทุกที่ในโลกนี้ปลาที่ถูกจับขึ้นมาได้ด้วยคันและรอกล้วนแล้วแต่ถูกเก็บไว้เพื่อบริโภคกันทั้งนั้น

นักตกปลาที่ปล่อยปลาไปโดยสมัครใจนั้น ยังคงทำเช่นนี้ต่อไปด้วยเหตุผลหลายประการด้วยกัน บางคนก็ไม่ชอบที่จะกินปลาเอาเสียเลย และไม่เคยแม้กระทั้งคิดที่จะเก็บปลาเอาไว้ บางท่านชอบกินปลาแต่ก็ปล่อยไปเพราะคำแนะนำทางด้านสุขภาพ อย่างไรก็ตาม นักตกปลาส่วนใหญ่สมัครใจที่จะปล่อยปลาไปด้วยอุดมการณ์ส่วนบุคคล และเพราะเขาอยากที่จะได้เห็นปลาที่เคยตกได้ และการกลับไปแพร่ขยายเผ่าพันธุ์ของมัน

นักตกปลา และองค์กรนักตกปลาบางกลุ่ม ได้รณรงค์ catch-and-release เพื่อเป็นวิธีในการเพิ่ม หรือรักษาความหนาแน่นของปลาในบางย่านน้ำ หรือเพื่อความสมดุลของประชากรปลา ไม่ว่าจะมีกฎข้อบังคับของทางการหรือไม่    ถึงแม้ว่าการมีปลาหนาแน่น จะไม่ใช่หลักประกันของความสำเร็จในการตกปลา แต่บ่อยครั้งก็ตีความได้ว่าน่าจะเป็นผลในแง่ดี โดยเฉพาะกับนักตกปลาที่มีความชำนาญ และย่อมนำไปสู่ประสบการณ์ที่น่าประทับใจ  นักตกปลาจำนวนมากรู้สึกว่าการปล่อยปลาทั้งหมด หรือส่วนใหญ่ โดยสมัครใจ ในสถานที่ใดๆ ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่าจะมีปลาเหลือไว้ให้ตกในภายหน้ามากขึ้น  งานศึกษาหลายชิ้นก็ให้ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับความเห็นข้อนี้ ถึงแม้ว่าอาจจะไม่ได้เป็นจริงในทุกกรณี  ในทั้งทะเลสาบและแม่น้ำบางแห่ง ประชากรของปลาส่วนใหญ่ หรือทั้งหมด ดำรงรักษาอยู่ได้ก็ด้วยอาศัยปลาที่เพาะพันธุ์ไว้  ปลาที่ถูกปล่อยกลับไปโดยสมัครใจในแหล่งน้ำดังกล่าว อาจจะไม่ได้มีผลต่อการขยายเผ่าพันธุ์ในอนาคต แต่อย่างน้อยปลาเหล่านี้ก็มีโอกาสที่จะเติบโตขึ้นเป็นปลาใหญ่ ให้นักตกปลาชื่นชมในภายหน้า  ถึงอย่างไรก็ตามนักตกปลาก็ยังคงเลือกที่จะปล่อยปลากลับคืนไป เพื่อเป็นหลักประกันได้ว่าจะมีปลาเหลือไว้ให้ตกในภายหน้า โดยหวังว่าหากมีนักตกปลาจำนวนมากพอที่ปฏิบัติเช่นนี้ สิ่งที่กระทำลงไป ย่อมต้องเห็นผลเป็นแน่

นักตกปลาส่วนใหญ่ที่ตกปลามานาน และเคยตกปลาพันธุ์นั้นๆ ได้มาก มักจะรู้สึกว่าไม่จำเป็นต้องเก็บปลาไว้อีก หรือเก็บไว้ก็เพียงแต่พอกิน ในยุคแรกๆ ของ catch-and-release แนวความคิดนี้กลายเป็นคำขวัญที่ว่า "Limit your kill; don't kill your limit."  ในปัจจุบัน การนำปลาขึ้นเท่าที่จำเป็น มากกว่านำปลาขึ้นเท่าที่กฎหมายกำหนด น่าจะเป็นแรงบันดาลใจหลักให้นักตกปลาที่มีความรู้และตกมานานยึดถือปฎิบัติ catch-and-release โดยสมัครใจ เมื่อแรงบันดาลใจดังกล่าวผสานกับตรรกะในการเลือกที่จะเก็บปลาโดยคำนึงถึงสภาพของปลา สภาพของประชากร หรือชนิดของปลา นักตกปลาท่านนั้นอาจได้ตัดสินใจทำในสิ่งที่เหมาะสมที่สุด  พูดอีกแบบก็คือ เมื่อนักตกปลาเลือกที่จะเก็บสักตัว นักตกปลาสามารถที่จะทำอย่างพิถีพิถัน เลือกเก็บปลาที่บาดเจ็บค่อนข้างมาก และมีโอกาสรอดได้ยาก แทนที่จะเลือกปลาที่ยังแข็งแรง หรืออาจเลือกปลาที่มีขนาดเล็ก หากบริเวณดังกล่าวมีปลาขนาดเล็กจำนวนมาก แต่มีปลาขนาดใหญ่น้อย หรือบางทีอาจเลือกปล่อยปลาเพศเมียวัยเจริญพันธุ์ หรือบางทีอาจเลือกเก็บปลาชนิดที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก และเลือกที่จะปล่อยปลาชนิดที่เหลืออยู่น้อย

โชคไม่ดีที่ catch-and-release ได้ถูกนำไปเชิดชูโดยบางคนว่าเป็นทางสว่าง สำหรับการแก้ปัญหา  ความคิดดังกล่าวไม่เป็นจริงสำหรับปลาทุกชนิด และสำหรับทุกสถานการณ์ นอกจากนี้บางท่านยังแสดงความเห็นในเรื่องนี้อย่างขึงขังเสียจน ทำให้รู้สึกว่าการจะเก็บปลาไว้เป็นเรื่องไม่สมควร ทั้งๆที่กฎหมายอนุญาติก็ตาม นักตกปลาหน้าใหม่โดยเฉพาะ Fly Fishing ได้ยึดถือปฏิบัติ catch-and-release กับปลาทุกตัวโดยไม่ได้คำนึงถึงความเหมาะสม ความคิดในลักษณะนี้ทำให้เขาแปลกแยกจากนักตกปลาจำนวนมากที่เห็นว่า การได้ทานอาหารสดๆ จากปลาที่ตกได้เป็นเรื่องที่สมเหตุสมผลทั้งในแง่ของโภชนาการ และทั้งในแง่การได้รับประสบการณ์อันครบถ้วนของการตกปลา

นักตกปลาบางท่านเห็นว่าเก็บปลาขนาดใหญ่เป็นเรื่องน่าตำหนิ นักตกปลาบางท่านที่จะไม่ค่อยเก็บปลา แต่เลือกเก็บปลาขนาดใหญ่เพื่อนำไปหล่อจำลอง ไว้เป็นที่ระลึก นักตกปลาในกลุ่มแรกจำเป็นต้องตระนักว่าการเก็บหรือปล่อยปลา ควรเป็นเรื่องของการเลือก และในบางสถานการณ์ การเก็บปลาไว้ไม่ใช่เป็นเพียงสิ่งที่ยอมรับได้ แต่เป็นสิ่งที่พึงกระทำเสียด้วยซ้ำ (เช่นในกรณีปลาบาดเจ็บมาก) ส่วนนักตกปลาในกลุ่มหลังก็ควรทราบว่านักหล่อจำลองปลาสามารถที่จะสร้างแม่แบบได้จากไฟเบอร์กลาส ซึ่งทำได้ดีไม่แพ้จากแม่แบบที่ทำจากหนังปลา ดังนั้นในกรณีของปลาโทรฟี่ จึงเป็นไปได้สัมผัสความรู้สึกพิเศษจากการปล่อยปลาขนาดที่หาได้ยากกลับไป และยังคงมีที่ปลาให้รำลึกถึงแขวนไว้เหนือเตาผิง

เครคิต : น้า  webmaster




เห็นด้วยครับ 
กระทู้: 0
ความเห็น: 47
ล่าสุด: 18-09-2567
ตั้งแต่: 24-12-2553
ความเห็นที่ 31: 23 มิ.ย. 57, 16:15
อ้างถึง: Rungmin posted: 23-06-2557, 15:03:05

                                                                          Catch-and-Release: ความเป็นมาและพัฒนาการ 

                                ไม่ใช่พวกโลกสวยนะครับแต่เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งอ่านแล้วเป็นบทความที่ดี ปลาเนื้อไม่อร่อย ฤดูวางไข่ ลองอ่านดูนะครับ

                                                                (เรียบเรียงจาก Ken Schultz's fishing encyclopedia, 1st ed. 2000)

  ความเป็นมา

"Catch-and-Release" หมายถึงแนวทางการปฏิบัติในการจับปลาด้วยอุปกรณ์ตกปลาและปล่อยไปขณะยังมีชีวิต เป็นแนวทางที่มีรากฐานมาจากจริยธรรม และวัฒนธรรมของการตกปลา และยึดถือปฎิบัติโดยสมัครใจมาเป็นเวลายาวนานในหมู่นักตกปลาบางส่วน

ในแง่ที่เป็นเรื่องของความสมัครใจ catch-and-release จึงเป็นเรื่องของส่วนบุคคล หากไม่ใช่เป็นเพื่อจริยธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ผู้ที่ยึดถือปฎิบัตบางท่านจึงเชื่อว่า สปิริตของ catch-and-release จะมีความหมายเป็นพิเศษก็ต่อเมื่อ ยึดถือปฎิบัติโดยสมัครใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปลาตัวนั้นมีขนาดใหญ่ หรือหาพบได้ยาก

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นเรื่องของความสมัครใจ ได้เริ่มกลายเป็นข้อบังคับทางกฏหมาย (ของอเมริกา - ผู้เรียบเรียง) สำหรับปลาในบางขนาด บางจำนวน บางชนิด ดังนั้น catch-and-release จึงได้กลายเป็นทั้งเรื่องจริยธรรม และนโยบายของรัฐ

ถึงกระนั้นก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความเชื่อส่วนตัว หรือแนวทางการจัดการของรัฐ  catch-and-release ก็ยังคงเป็นเรื่องที่ใช้เวลานานสำหรับที่จะทำให้คนจำนวนมากได้ยอมรับ เป็นเรื่องได้รับการถกเถียงกันในวงกว้างโดยนักตกปลาและกรมประมง และยังคงดำเนินต่อไป ตราบเท่าที่ยังมีเรื่องที่ต้องเรียนรู้ถึงสิ่งที่มีผลกระทบต่อการรอดชีวิตของปลาที่ตกได้และปล่อยไป และเคียงคู่ไปกับการที่นักตกปลาต้องเรียนรู้และปฎิบัติอย่างเหมาะสมต่อการนำปลาขึ้นจากน้ำ การถือ และการปล่อยกลับคืนไป

พัฒนาการของกฎหมาย

แนวความคิดในการปล่อยปลาที่ไม่ต้องการบริโภค ทั้งที่สามารถเก็บไว้ตามกฎหมาย ได้พัฒนามาจากนักตกปลาหลายกลุ่ม อาทิเช่น นักตกปลามากประสบการณ์ที่ตกปลาได้ตามจำนวน หรือได้ชนิดที่ต้องการแล้ว จึงไม่ต้องการเพิ่มอีก นักตกปลาที่ปรารถนาจะสนุกกับการตกต่อไป จึงไม่เก็บปลาไว้ตามจำนวนที่ถูกกำหนดไว้ และนักตกปลาที่ตระหนักว่าการยิ่งนำปลาบางขนาด หรือบางชนิดที่กำหนด จากบริเวณใดๆ อาจมีผลกระทบที่เลวร้ายต่ออนาคตต่อประชากรปลาในบริเวณนั้น

catch-and-release มีจุดเริ่มมาจากความยึดถือ และทางเลือกของบุคคล และพัฒนามาเป็นกระแสความเคลื่อนไหว เนื่องจากการเรียกร้องของกลุ่มนักตกปลาในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงปี 1960 และปี 1970 ส่วนปัจจัยอื่นก็เนื่องมาจากการการพัฒนาการของอุปกรณ์ตกปลา ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปลาที่มากขึ้น และสภาวะคับขันของจำนวนปลา  แหล่งหาปลาขึ้นชื่อหลายแห่งในอเมริกา มีจำนวนปลาลดลงอย่างมาก หรือหมดไป หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ไม่กี่สิบปี  ถึงแม้จะมีปัจจัยมากมาย และในหลากหลายระดับ ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งก็คือมลภาวะทางน้ำและทางอากาศ แหล่งที่อยู่อาศัยถูกทำลายหรือเปลี่ยนแปลง การจับปลาในเชิงพาณิชย์ และการตกปลาเป็นเกมกีฬา

ความพยายามในการตกปลาทั้งน้ำจืดและทะเล มักพุ่งเป้าหมายเฉพาะกับปลาบางชนิดที่ให้ความรู้สึกพิเศษในการตก แบส เทร้าท์ แซลมอล คราปปี้ และวอไลย์ เป็นตัวอย่างปลาน้ำจืดที่ได้รับความนิยมในระดับต้นๆ สไตรด์แบส เรดฟิช ทาร์ปอน ทูน่า และปลากระโทง เป็นปลาทะเลชั้นนำ ก่อนที่ประชากรของปลาเหล่านี้ และปลาที่ได้รับความนิยมอื่นๆ จะลดลงอย่างมาก และก่อนที่กระแสการตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องอนุรักษ์ นักตกปลามักจะเก็บปลาแทบทุกตัวที่ตกได้ จนกระทั้งข้อบังคับเกี่ยวกับฤดูกาล วิธีการจับ ความยาวขั้นต่ำ ได้ถูกกำหนดขึ้น

ในช่วงหนึ่ง นักตกปลารวมทั้งสาธารณะชนโดยทั่วไป เชื่อว่าการตกปลาเพื่อสันทนาการไม่ได้เป็นภัยคุกคามต่อระดับประชากรของปลา โดยเฉพาะในน้ำจืดที่การทำประมงเป็นปัจจัยรองกว่าในทะเล  ทุกวันนี้เป็นที่เข้าใจกันแล้วว่าไม่ได้เป็นเช่นนั้น  นักตกปลาที่มีความชำนาญจำนวนหนึ่งสามารถที่จะพลาญประชากรของปลาได้แทบทุกปลาชนิด ในช่วงเวลาหนึ่งหากไม่ได้รับการดูแล  ในบางสถานการณ์นักตกปลาที่ความชำนาญสามารถที่จะทำเช่นนั้นได้ในช่วงระยะเวลาอันสั้น ทั้งๆที่ปฎิบัติตามข้อกำหนดก็ตาม  แม้ว่าเขาจะไม่ได้จับปลาไปทั้งหมด แต่เขายังคงสามารถที่จะสร้างผลกระทบอย่างมากต่อสมดุลย์ของประชากรปลา โดยการเลือกที่จะตกปลาบางพันธุ์ หรือเลือกที่จะเก็บปลาบางขนาดโดยเฉพาะปลาที่มีขนาดใหญ่  ตัวอย่างเช่น ความพยายามอย่างยิ่งในการตกปลาเลคเทร้าท์ขนาดใหญ่ทางตอนเหนือของแคนนาดา ได้ทำให้ปลาเลคเทร้าท์ซึ่งเติบโตได้ช้า ในขนาดโทรฟี้แทบจะหมดไปในช่วงปลายปี 1950 จนถึงปี 1970

การตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป และในหลายกรณีเป็นการเรียกร้องจากองค์กรนักตกปลาต่างๆ ในที่สุดกรมประมงก็ได้กำหนดจำนวนปลาที่จะนำขึ้นได้จากเดิมไม่ได้กำหนดไว้เลย กำหนดฤดูกาล กำหนดชุดปลายสาย รวมทั้งการฟื้นฟูแหล่งที่อยู่อาศัย

กฎข้อบังคับของกรมประมงในเรื่อง ขนาด จำนวน และฤดูกาล ถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้โอกาสปลาขนาดเล็กได้เติบโตเต็มที่ และแพร่ขยายพันธุ์  ซึ่งเป็นความจริงอย่างมากในน้ำจืด และลดระดับลงมาในน้ำทะเล  บางข้อถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์บางอย่างโดยเฉพาะ เช่น เพื่อรักษาปลาในระดับโทรฟี่ในบางพันธุ์ ในบางทะเลสาบ การปล่อยปลาขนาดใหญ่นี้ถูกมองว่าเป็นแนวทางที่มุ่งหวังการแพร่พันธุ์ และการสงวนปลาขนาดใหญ่ไว้  ในบางข้อดูเหมือนจะมีเป้าหมายในทางตรงกันข้ามโดยกำหนดให้นำปลาบางขนาดขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อรักษาสมดุลย์ประชากรของปลาในหลากหลายขนาด (หลากหลายช่วงอายุ) เนื่องจากปลาที่ถูกตกได้และเก็บไว้ มักจะเป็นขนาดใหญ่ และการทำเช่นนี้อย่างต่อเนื่อง ย่อมทำให้ประชากรปลาขาดความสมดุลย์

ดังนั้นภายใต้กฎหมาย นักตกปลาต้องปล่อยปลาที่ตกได้นอกฤดูกาลที่กำหนด หรือปลาที่ขนาดเล็กหรือใหญ่กว่ากำหนด หรือปลาที่มีจำนวนเกินกว่าที่กำหนดสำหรับพันธุ์นั้น  นอกจากนี้ในบางพื้นที่ยังกำหนดให้ ปล่อยปลาที่ถูกตกได้หากปลาติดเบ็ดอย่างไม่ถูกต้อง ข้อบังคับนี้เป็นเรื่องของการกีฬา มากกว่าที่จะเป็นเรื่องการจัดการทรัพยากรณ์
สำหรับคนที่ไม่ใช่นักตกปลาแล้ว การปล่อยปลาไปดูจะเป็นเรื่องที่ไร้เหตุผล เมื่อพิจารณาจากค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ความไม่แน่นอนว่าจะตกได้หรือไม่ และการปฏิเสธแหล่งอาหารที่สดและมีคุณค่าต่อร่างกาย นอกเสียจากว่ากระทำไปเพราะกฎหมายกำหนด  ในแง่ของการบริโภคแล้ว การปล่อยปลาที่จับมาได้ เมื่อไม่มองในแง่กีฬา ดูจะเป็นเรื่องขัดแย้งกับการแนวทางการหาเลี้ยงชีพของมนุษยชาติ  จะว่าไปแล้ว เกือบทุกที่ในโลกนี้ปลาที่ถูกจับขึ้นมาได้ด้วยคันและรอกล้วนแล้วแต่ถูกเก็บไว้เพื่อบริโภคกันทั้งนั้น

นักตกปลาที่ปล่อยปลาไปโดยสมัครใจนั้น ยังคงทำเช่นนี้ต่อไปด้วยเหตุผลหลายประการด้วยกัน บางคนก็ไม่ชอบที่จะกินปลาเอาเสียเลย และไม่เคยแม้กระทั้งคิดที่จะเก็บปลาเอาไว้ บางท่านชอบกินปลาแต่ก็ปล่อยไปเพราะคำแนะนำทางด้านสุขภาพ อย่างไรก็ตาม นักตกปลาส่วนใหญ่สมัครใจที่จะปล่อยปลาไปด้วยอุดมการณ์ส่วนบุคคล และเพราะเขาอยากที่จะได้เห็นปลาที่เคยตกได้ และการกลับไปแพร่ขยายเผ่าพันธุ์ของมัน

นักตกปลา และองค์กรนักตกปลาบางกลุ่ม ได้รณรงค์ catch-and-release เพื่อเป็นวิธีในการเพิ่ม หรือรักษาความหนาแน่นของปลาในบางย่านน้ำ หรือเพื่อความสมดุลของประชากรปลา ไม่ว่าจะมีกฎข้อบังคับของทางการหรือไม่    ถึงแม้ว่าการมีปลาหนาแน่น จะไม่ใช่หลักประกันของความสำเร็จในการตกปลา แต่บ่อยครั้งก็ตีความได้ว่าน่าจะเป็นผลในแง่ดี โดยเฉพาะกับนักตกปลาที่มีความชำนาญ และย่อมนำไปสู่ประสบการณ์ที่น่าประทับใจ  นักตกปลาจำนวนมากรู้สึกว่าการปล่อยปลาทั้งหมด หรือส่วนใหญ่ โดยสมัครใจ ในสถานที่ใดๆ ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่าจะมีปลาเหลือไว้ให้ตกในภายหน้ามากขึ้น  งานศึกษาหลายชิ้นก็ให้ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับความเห็นข้อนี้ ถึงแม้ว่าอาจจะไม่ได้เป็นจริงในทุกกรณี  ในทั้งทะเลสาบและแม่น้ำบางแห่ง ประชากรของปลาส่วนใหญ่ หรือทั้งหมด ดำรงรักษาอยู่ได้ก็ด้วยอาศัยปลาที่เพาะพันธุ์ไว้  ปลาที่ถูกปล่อยกลับไปโดยสมัครใจในแหล่งน้ำดังกล่าว อาจจะไม่ได้มีผลต่อการขยายเผ่าพันธุ์ในอนาคต แต่อย่างน้อยปลาเหล่านี้ก็มีโอกาสที่จะเติบโตขึ้นเป็นปลาใหญ่ ให้นักตกปลาชื่นชมในภายหน้า  ถึงอย่างไรก็ตามนักตกปลาก็ยังคงเลือกที่จะปล่อยปลากลับคืนไป เพื่อเป็นหลักประกันได้ว่าจะมีปลาเหลือไว้ให้ตกในภายหน้า โดยหวังว่าหากมีนักตกปลาจำนวนมากพอที่ปฏิบัติเช่นนี้ สิ่งที่กระทำลงไป ย่อมต้องเห็นผลเป็นแน่

นักตกปลาส่วนใหญ่ที่ตกปลามานาน และเคยตกปลาพันธุ์นั้นๆ ได้มาก มักจะรู้สึกว่าไม่จำเป็นต้องเก็บปลาไว้อีก หรือเก็บไว้ก็เพียงแต่พอกิน ในยุคแรกๆ ของ catch-and-release แนวความคิดนี้กลายเป็นคำขวัญที่ว่า "Limit your kill; don't kill your limit."  ในปัจจุบัน การนำปลาขึ้นเท่าที่จำเป็น มากกว่านำปลาขึ้นเท่าที่กฎหมายกำหนด น่าจะเป็นแรงบันดาลใจหลักให้นักตกปลาที่มีความรู้และตกมานานยึดถือปฎิบัติ catch-and-release โดยสมัครใจ เมื่อแรงบันดาลใจดังกล่าวผสานกับตรรกะในการเลือกที่จะเก็บปลาโดยคำนึงถึงสภาพของปลา สภาพของประชากร หรือชนิดของปลา นักตกปลาท่านนั้นอาจได้ตัดสินใจทำในสิ่งที่เหมาะสมที่สุด  พูดอีกแบบก็คือ เมื่อนักตกปลาเลือกที่จะเก็บสักตัว นักตกปลาสามารถที่จะทำอย่างพิถีพิถัน เลือกเก็บปลาที่บาดเจ็บค่อนข้างมาก และมีโอกาสรอดได้ยาก แทนที่จะเลือกปลาที่ยังแข็งแรง หรืออาจเลือกปลาที่มีขนาดเล็ก หากบริเวณดังกล่าวมีปลาขนาดเล็กจำนวนมาก แต่มีปลาขนาดใหญ่น้อย หรือบางทีอาจเลือกปล่อยปลาเพศเมียวัยเจริญพันธุ์ หรือบางทีอาจเลือกเก็บปลาชนิดที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก และเลือกที่จะปล่อยปลาชนิดที่เหลืออยู่น้อย

โชคไม่ดีที่ catch-and-release ได้ถูกนำไปเชิดชูโดยบางคนว่าเป็นทางสว่าง สำหรับการแก้ปัญหา  ความคิดดังกล่าวไม่เป็นจริงสำหรับปลาทุกชนิด และสำหรับทุกสถานการณ์ นอกจากนี้บางท่านยังแสดงความเห็นในเรื่องนี้อย่างขึงขังเสียจน ทำให้รู้สึกว่าการจะเก็บปลาไว้เป็นเรื่องไม่สมควร ทั้งๆที่กฎหมายอนุญาติก็ตาม นักตกปลาหน้าใหม่โดยเฉพาะ Fly Fishing ได้ยึดถือปฏิบัติ catch-and-release กับปลาทุกตัวโดยไม่ได้คำนึงถึงความเหมาะสม ความคิดในลักษณะนี้ทำให้เขาแปลกแยกจากนักตกปลาจำนวนมากที่เห็นว่า การได้ทานอาหารสดๆ จากปลาที่ตกได้เป็นเรื่องที่สมเหตุสมผลทั้งในแง่ของโภชนาการ และทั้งในแง่การได้รับประสบการณ์อันครบถ้วนของการตกปลา

นักตกปลาบางท่านเห็นว่าเก็บปลาขนาดใหญ่เป็นเรื่องน่าตำหนิ นักตกปลาบางท่านที่จะไม่ค่อยเก็บปลา แต่เลือกเก็บปลาขนาดใหญ่เพื่อนำไปหล่อจำลอง ไว้เป็นที่ระลึก นักตกปลาในกลุ่มแรกจำเป็นต้องตระนักว่าการเก็บหรือปล่อยปลา ควรเป็นเรื่องของการเลือก และในบางสถานการณ์ การเก็บปลาไว้ไม่ใช่เป็นเพียงสิ่งที่ยอมรับได้ แต่เป็นสิ่งที่พึงกระทำเสียด้วยซ้ำ (เช่นในกรณีปลาบาดเจ็บมาก) ส่วนนักตกปลาในกลุ่มหลังก็ควรทราบว่านักหล่อจำลองปลาสามารถที่จะสร้างแม่แบบได้จากไฟเบอร์กลาส ซึ่งทำได้ดีไม่แพ้จากแม่แบบที่ทำจากหนังปลา ดังนั้นในกรณีของปลาโทรฟี่ จึงเป็นไปได้สัมผัสความรู้สึกพิเศษจากการปล่อยปลาขนาดที่หาได้ยากกลับไป และยังคงมีที่ปลาให้รำลึกถึงแขวนไว้เหนือเตาผิง

เครคิต : น้า  webmaster




เห็นด้วยครับ 
กระทู้: 4
ความเห็น: 8,760
ล่าสุด: 30-10-2567
ตั้งแต่: 19-08-2551
psu_2519(54 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 32: 23 มิ.ย. 57, 16:21
อ้างถึง: Rungmin posted: 23-06-2557, 15:03:05

                                                                          Catch-and-Release: ความเป็นมาและพัฒนาการ 

                                ไม่ใช่พวกโลกสวยนะครับแต่เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งอ่านแล้วเป็นบทความที่ดี ปลาเนื้อไม่อร่อย ฤดูวางไข่ ลองอ่านดูนะครับ

                                                                (เรียบเรียงจาก Ken Schultz's fishing encyclopedia, 1st ed. 2000)

  ความเป็นมา

"Catch-and-Release" หมายถึงแนวทางการปฏิบัติในการจับปลาด้วยอุปกรณ์ตกปลาและปล่อยไปขณะยังมีชีวิต เป็นแนวทางที่มีรากฐานมาจากจริยธรรม และวัฒนธรรมของการตกปลา และยึดถือปฎิบัติโดยสมัครใจมาเป็นเวลายาวนานในหมู่นักตกปลาบางส่วน

ในแง่ที่เป็นเรื่องของความสมัครใจ catch-and-release จึงเป็นเรื่องของส่วนบุคคล หากไม่ใช่เป็นเพื่อจริยธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ผู้ที่ยึดถือปฎิบัตบางท่านจึงเชื่อว่า สปิริตของ catch-and-release จะมีความหมายเป็นพิเศษก็ต่อเมื่อ ยึดถือปฎิบัติโดยสมัครใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปลาตัวนั้นมีขนาดใหญ่ หรือหาพบได้ยาก

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นเรื่องของความสมัครใจ ได้เริ่มกลายเป็นข้อบังคับทางกฏหมาย (ของอเมริกา - ผู้เรียบเรียง) สำหรับปลาในบางขนาด บางจำนวน บางชนิด ดังนั้น catch-and-release จึงได้กลายเป็นทั้งเรื่องจริยธรรม และนโยบายของรัฐ

ถึงกระนั้นก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความเชื่อส่วนตัว หรือแนวทางการจัดการของรัฐ  catch-and-release ก็ยังคงเป็นเรื่องที่ใช้เวลานานสำหรับที่จะทำให้คนจำนวนมากได้ยอมรับ เป็นเรื่องได้รับการถกเถียงกันในวงกว้างโดยนักตกปลาและกรมประมง และยังคงดำเนินต่อไป ตราบเท่าที่ยังมีเรื่องที่ต้องเรียนรู้ถึงสิ่งที่มีผลกระทบต่อการรอดชีวิตของปลาที่ตกได้และปล่อยไป และเคียงคู่ไปกับการที่นักตกปลาต้องเรียนรู้และปฎิบัติอย่างเหมาะสมต่อการนำปลาขึ้นจากน้ำ การถือ และการปล่อยกลับคืนไป

พัฒนาการของกฎหมาย

แนวความคิดในการปล่อยปลาที่ไม่ต้องการบริโภค ทั้งที่สามารถเก็บไว้ตามกฎหมาย ได้พัฒนามาจากนักตกปลาหลายกลุ่ม อาทิเช่น นักตกปลามากประสบการณ์ที่ตกปลาได้ตามจำนวน หรือได้ชนิดที่ต้องการแล้ว จึงไม่ต้องการเพิ่มอีก นักตกปลาที่ปรารถนาจะสนุกกับการตกต่อไป จึงไม่เก็บปลาไว้ตามจำนวนที่ถูกกำหนดไว้ และนักตกปลาที่ตระหนักว่าการยิ่งนำปลาบางขนาด หรือบางชนิดที่กำหนด จากบริเวณใดๆ อาจมีผลกระทบที่เลวร้ายต่ออนาคตต่อประชากรปลาในบริเวณนั้น

catch-and-release มีจุดเริ่มมาจากความยึดถือ และทางเลือกของบุคคล และพัฒนามาเป็นกระแสความเคลื่อนไหว เนื่องจากการเรียกร้องของกลุ่มนักตกปลาในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงปี 1960 และปี 1970 ส่วนปัจจัยอื่นก็เนื่องมาจากการการพัฒนาการของอุปกรณ์ตกปลา ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปลาที่มากขึ้น และสภาวะคับขันของจำนวนปลา  แหล่งหาปลาขึ้นชื่อหลายแห่งในอเมริกา มีจำนวนปลาลดลงอย่างมาก หรือหมดไป หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ไม่กี่สิบปี  ถึงแม้จะมีปัจจัยมากมาย และในหลากหลายระดับ ปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งก็คือมลภาวะทางน้ำและทางอากาศ แหล่งที่อยู่อาศัยถูกทำลายหรือเปลี่ยนแปลง การจับปลาในเชิงพาณิชย์ และการตกปลาเป็นเกมกีฬา

ความพยายามในการตกปลาทั้งน้ำจืดและทะเล มักพุ่งเป้าหมายเฉพาะกับปลาบางชนิดที่ให้ความรู้สึกพิเศษในการตก แบส เทร้าท์ แซลมอล คราปปี้ และวอไลย์ เป็นตัวอย่างปลาน้ำจืดที่ได้รับความนิยมในระดับต้นๆ สไตรด์แบส เรดฟิช ทาร์ปอน ทูน่า และปลากระโทง เป็นปลาทะเลชั้นนำ ก่อนที่ประชากรของปลาเหล่านี้ และปลาที่ได้รับความนิยมอื่นๆ จะลดลงอย่างมาก และก่อนที่กระแสการตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องอนุรักษ์ นักตกปลามักจะเก็บปลาแทบทุกตัวที่ตกได้ จนกระทั้งข้อบังคับเกี่ยวกับฤดูกาล วิธีการจับ ความยาวขั้นต่ำ ได้ถูกกำหนดขึ้น

ในช่วงหนึ่ง นักตกปลารวมทั้งสาธารณะชนโดยทั่วไป เชื่อว่าการตกปลาเพื่อสันทนาการไม่ได้เป็นภัยคุกคามต่อระดับประชากรของปลา โดยเฉพาะในน้ำจืดที่การทำประมงเป็นปัจจัยรองกว่าในทะเล  ทุกวันนี้เป็นที่เข้าใจกันแล้วว่าไม่ได้เป็นเช่นนั้น  นักตกปลาที่มีความชำนาญจำนวนหนึ่งสามารถที่จะพลาญประชากรของปลาได้แทบทุกปลาชนิด ในช่วงเวลาหนึ่งหากไม่ได้รับการดูแล  ในบางสถานการณ์นักตกปลาที่ความชำนาญสามารถที่จะทำเช่นนั้นได้ในช่วงระยะเวลาอันสั้น ทั้งๆที่ปฎิบัติตามข้อกำหนดก็ตาม  แม้ว่าเขาจะไม่ได้จับปลาไปทั้งหมด แต่เขายังคงสามารถที่จะสร้างผลกระทบอย่างมากต่อสมดุลย์ของประชากรปลา โดยการเลือกที่จะตกปลาบางพันธุ์ หรือเลือกที่จะเก็บปลาบางขนาดโดยเฉพาะปลาที่มีขนาดใหญ่  ตัวอย่างเช่น ความพยายามอย่างยิ่งในการตกปลาเลคเทร้าท์ขนาดใหญ่ทางตอนเหนือของแคนนาดา ได้ทำให้ปลาเลคเทร้าท์ซึ่งเติบโตได้ช้า ในขนาดโทรฟี้แทบจะหมดไปในช่วงปลายปี 1950 จนถึงปี 1970

การตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป และในหลายกรณีเป็นการเรียกร้องจากองค์กรนักตกปลาต่างๆ ในที่สุดกรมประมงก็ได้กำหนดจำนวนปลาที่จะนำขึ้นได้จากเดิมไม่ได้กำหนดไว้เลย กำหนดฤดูกาล กำหนดชุดปลายสาย รวมทั้งการฟื้นฟูแหล่งที่อยู่อาศัย

กฎข้อบังคับของกรมประมงในเรื่อง ขนาด จำนวน และฤดูกาล ถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้โอกาสปลาขนาดเล็กได้เติบโตเต็มที่ และแพร่ขยายพันธุ์  ซึ่งเป็นความจริงอย่างมากในน้ำจืด และลดระดับลงมาในน้ำทะเล  บางข้อถูกกำหนดขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์บางอย่างโดยเฉพาะ เช่น เพื่อรักษาปลาในระดับโทรฟี่ในบางพันธุ์ ในบางทะเลสาบ การปล่อยปลาขนาดใหญ่นี้ถูกมองว่าเป็นแนวทางที่มุ่งหวังการแพร่พันธุ์ และการสงวนปลาขนาดใหญ่ไว้  ในบางข้อดูเหมือนจะมีเป้าหมายในทางตรงกันข้ามโดยกำหนดให้นำปลาบางขนาดขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อรักษาสมดุลย์ประชากรของปลาในหลากหลายขนาด (หลากหลายช่วงอายุ) เนื่องจากปลาที่ถูกตกได้และเก็บไว้ มักจะเป็นขนาดใหญ่ และการทำเช่นนี้อย่างต่อเนื่อง ย่อมทำให้ประชากรปลาขาดความสมดุลย์

ดังนั้นภายใต้กฎหมาย นักตกปลาต้องปล่อยปลาที่ตกได้นอกฤดูกาลที่กำหนด หรือปลาที่ขนาดเล็กหรือใหญ่กว่ากำหนด หรือปลาที่มีจำนวนเกินกว่าที่กำหนดสำหรับพันธุ์นั้น  นอกจากนี้ในบางพื้นที่ยังกำหนดให้ ปล่อยปลาที่ถูกตกได้หากปลาติดเบ็ดอย่างไม่ถูกต้อง ข้อบังคับนี้เป็นเรื่องของการกีฬา มากกว่าที่จะเป็นเรื่องการจัดการทรัพยากรณ์
สำหรับคนที่ไม่ใช่นักตกปลาแล้ว การปล่อยปลาไปดูจะเป็นเรื่องที่ไร้เหตุผล เมื่อพิจารณาจากค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ความไม่แน่นอนว่าจะตกได้หรือไม่ และการปฏิเสธแหล่งอาหารที่สดและมีคุณค่าต่อร่างกาย นอกเสียจากว่ากระทำไปเพราะกฎหมายกำหนด  ในแง่ของการบริโภคแล้ว การปล่อยปลาที่จับมาได้ เมื่อไม่มองในแง่กีฬา ดูจะเป็นเรื่องขัดแย้งกับการแนวทางการหาเลี้ยงชีพของมนุษยชาติ  จะว่าไปแล้ว เกือบทุกที่ในโลกนี้ปลาที่ถูกจับขึ้นมาได้ด้วยคันและรอกล้วนแล้วแต่ถูกเก็บไว้เพื่อบริโภคกันทั้งนั้น

นักตกปลาที่ปล่อยปลาไปโดยสมัครใจนั้น ยังคงทำเช่นนี้ต่อไปด้วยเหตุผลหลายประการด้วยกัน บางคนก็ไม่ชอบที่จะกินปลาเอาเสียเลย และไม่เคยแม้กระทั้งคิดที่จะเก็บปลาเอาไว้ บางท่านชอบกินปลาแต่ก็ปล่อยไปเพราะคำแนะนำทางด้านสุขภาพ อย่างไรก็ตาม นักตกปลาส่วนใหญ่สมัครใจที่จะปล่อยปลาไปด้วยอุดมการณ์ส่วนบุคคล และเพราะเขาอยากที่จะได้เห็นปลาที่เคยตกได้ และการกลับไปแพร่ขยายเผ่าพันธุ์ของมัน

นักตกปลา และองค์กรนักตกปลาบางกลุ่ม ได้รณรงค์ catch-and-release เพื่อเป็นวิธีในการเพิ่ม หรือรักษาความหนาแน่นของปลาในบางย่านน้ำ หรือเพื่อความสมดุลของประชากรปลา ไม่ว่าจะมีกฎข้อบังคับของทางการหรือไม่    ถึงแม้ว่าการมีปลาหนาแน่น จะไม่ใช่หลักประกันของความสำเร็จในการตกปลา แต่บ่อยครั้งก็ตีความได้ว่าน่าจะเป็นผลในแง่ดี โดยเฉพาะกับนักตกปลาที่มีความชำนาญ และย่อมนำไปสู่ประสบการณ์ที่น่าประทับใจ  นักตกปลาจำนวนมากรู้สึกว่าการปล่อยปลาทั้งหมด หรือส่วนใหญ่ โดยสมัครใจ ในสถานที่ใดๆ ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่าจะมีปลาเหลือไว้ให้ตกในภายหน้ามากขึ้น  งานศึกษาหลายชิ้นก็ให้ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับความเห็นข้อนี้ ถึงแม้ว่าอาจจะไม่ได้เป็นจริงในทุกกรณี  ในทั้งทะเลสาบและแม่น้ำบางแห่ง ประชากรของปลาส่วนใหญ่ หรือทั้งหมด ดำรงรักษาอยู่ได้ก็ด้วยอาศัยปลาที่เพาะพันธุ์ไว้  ปลาที่ถูกปล่อยกลับไปโดยสมัครใจในแหล่งน้ำดังกล่าว อาจจะไม่ได้มีผลต่อการขยายเผ่าพันธุ์ในอนาคต แต่อย่างน้อยปลาเหล่านี้ก็มีโอกาสที่จะเติบโตขึ้นเป็นปลาใหญ่ ให้นักตกปลาชื่นชมในภายหน้า  ถึงอย่างไรก็ตามนักตกปลาก็ยังคงเลือกที่จะปล่อยปลากลับคืนไป เพื่อเป็นหลักประกันได้ว่าจะมีปลาเหลือไว้ให้ตกในภายหน้า โดยหวังว่าหากมีนักตกปลาจำนวนมากพอที่ปฏิบัติเช่นนี้ สิ่งที่กระทำลงไป ย่อมต้องเห็นผลเป็นแน่

นักตกปลาส่วนใหญ่ที่ตกปลามานาน และเคยตกปลาพันธุ์นั้นๆ ได้มาก มักจะรู้สึกว่าไม่จำเป็นต้องเก็บปลาไว้อีก หรือเก็บไว้ก็เพียงแต่พอกิน ในยุคแรกๆ ของ catch-and-release แนวความคิดนี้กลายเป็นคำขวัญที่ว่า "Limit your kill; don't kill your limit."  ในปัจจุบัน การนำปลาขึ้นเท่าที่จำเป็น มากกว่านำปลาขึ้นเท่าที่กฎหมายกำหนด น่าจะเป็นแรงบันดาลใจหลักให้นักตกปลาที่มีความรู้และตกมานานยึดถือปฎิบัติ catch-and-release โดยสมัครใจ เมื่อแรงบันดาลใจดังกล่าวผสานกับตรรกะในการเลือกที่จะเก็บปลาโดยคำนึงถึงสภาพของปลา สภาพของประชากร หรือชนิดของปลา นักตกปลาท่านนั้นอาจได้ตัดสินใจทำในสิ่งที่เหมาะสมที่สุด  พูดอีกแบบก็คือ เมื่อนักตกปลาเลือกที่จะเก็บสักตัว นักตกปลาสามารถที่จะทำอย่างพิถีพิถัน เลือกเก็บปลาที่บาดเจ็บค่อนข้างมาก และมีโอกาสรอดได้ยาก แทนที่จะเลือกปลาที่ยังแข็งแรง หรืออาจเลือกปลาที่มีขนาดเล็ก หากบริเวณดังกล่าวมีปลาขนาดเล็กจำนวนมาก แต่มีปลาขนาดใหญ่น้อย หรือบางทีอาจเลือกปล่อยปลาเพศเมียวัยเจริญพันธุ์ หรือบางทีอาจเลือกเก็บปลาชนิดที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก และเลือกที่จะปล่อยปลาชนิดที่เหลืออยู่น้อย

โชคไม่ดีที่ catch-and-release ได้ถูกนำไปเชิดชูโดยบางคนว่าเป็นทางสว่าง สำหรับการแก้ปัญหา  ความคิดดังกล่าวไม่เป็นจริงสำหรับปลาทุกชนิด และสำหรับทุกสถานการณ์ นอกจากนี้บางท่านยังแสดงความเห็นในเรื่องนี้อย่างขึงขังเสียจน ทำให้รู้สึกว่าการจะเก็บปลาไว้เป็นเรื่องไม่สมควร ทั้งๆที่กฎหมายอนุญาติก็ตาม นักตกปลาหน้าใหม่โดยเฉพาะ Fly Fishing ได้ยึดถือปฏิบัติ catch-and-release กับปลาทุกตัวโดยไม่ได้คำนึงถึงความเหมาะสม ความคิดในลักษณะนี้ทำให้เขาแปลกแยกจากนักตกปลาจำนวนมากที่เห็นว่า การได้ทานอาหารสดๆ จากปลาที่ตกได้เป็นเรื่องที่สมเหตุสมผลทั้งในแง่ของโภชนาการ และทั้งในแง่การได้รับประสบการณ์อันครบถ้วนของการตกปลา

นักตกปลาบางท่านเห็นว่าเก็บปลาขนาดใหญ่เป็นเรื่องน่าตำหนิ นักตกปลาบางท่านที่จะไม่ค่อยเก็บปลา แต่เลือกเก็บปลาขนาดใหญ่เพื่อนำไปหล่อจำลอง ไว้เป็นที่ระลึก นักตกปลาในกลุ่มแรกจำเป็นต้องตระนักว่าการเก็บหรือปล่อยปลา ควรเป็นเรื่องของการเลือก และในบางสถานการณ์ การเก็บปลาไว้ไม่ใช่เป็นเพียงสิ่งที่ยอมรับได้ แต่เป็นสิ่งที่พึงกระทำเสียด้วยซ้ำ (เช่นในกรณีปลาบาดเจ็บมาก) ส่วนนักตกปลาในกลุ่มหลังก็ควรทราบว่านักหล่อจำลองปลาสามารถที่จะสร้างแม่แบบได้จากไฟเบอร์กลาส ซึ่งทำได้ดีไม่แพ้จากแม่แบบที่ทำจากหนังปลา ดังนั้นในกรณีของปลาโทรฟี่ จึงเป็นไปได้สัมผัสความรู้สึกพิเศษจากการปล่อยปลาขนาดที่หาได้ยากกลับไป และยังคงมีที่ปลาให้รำลึกถึงแขวนไว้เหนือเตาผิง

เครคิต : น้า  webmaster





กระทู้: 7
ความเห็น: 605
ล่าสุด: 30-04-2567
ตั้งแต่: 01-03-2553
MAFIA005(240 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 33: 23 มิ.ย. 57, 16:24
เห็นกระทู้โชว์ปลาเป็นพวงๆแล้วใจหาย แถวบ้านผมฤดูวางไข่แถวต้นน้ำคนชุมกว่าปลาอีก คิดให้ไกลกว่านี้. คงไม่มีการกระทำเช่นนี้หรอก
กระทู้: 6
ความเห็น: 980
ล่าสุด: 20-05-2567
ตั้งแต่: 23-07-2553
moogun(159 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 34: 23 มิ.ย. 57, 16:25
จิตใต้สำนึกเฟียวๆ??    ต่างคนต่างความคิด บังคับกันไม่ได้ เริ่มที่เราก่อนเป็นดีที่สุด ส่วนตัวแล้วเอามาแค่ให้เมียรู้ว่าไปตกปลาครับ
กระทู้: 0
ความเห็น: 988
ล่าสุด: 10-05-2567
ตั้งแต่: 09-12-2553
ความเห็นที่ 35: 23 มิ.ย. 57, 16:27
ความเห็นที่ 36: 23 มิ.ย. 57, 16:28 ความเห็นนี้ได้ถูกซ่อนไว้
กระทู้: 3
ความเห็น: 111
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 11-04-2549
etor7777(23 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 37: 23 มิ.ย. 57, 16:30
ความเชื่อผิดๆของนักตกปลา ถือลงมาเป็นพวงแล้วเท่  เก่งที่ตกได้เยอะๆ  แค่นั้นหรอ  ลองคิดดูนะครับ  ผมว่าน่าจะคิดได้นะ
กระทู้: 12
ความเห็น: 756
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 26-04-2554
ritranger(69 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 38: 23 มิ.ย. 57, 16:32
อ้างถึง: ritranger posted: 23-06-2557, 15:08:41

ความคิดผมนะ  ตกได้เอาไปเหอะ แต่อย่าลืมซื้อลูกมันมาปล่อยบ้าง ซื้อมาแค่คนละ100-200 บาทได้ลูกปลาตั้ง 300-400 ตัว เลี้ยงรอดสัก 50 % ผมว่าคุ้ม ทำแบบนี้ตกทั้งปีทั้งชาติก็ไม่หมด


http://www.chaipat.or.th/intranet/project/detail.php?project_id=234  ตามนี้ครับ
กระทู้: 0
ความเห็น: 126
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 31-05-2554
ความเห็นที่ 39: 23 มิ.ย. 57, 16:34
ขอแสดงความคิดเห็นนะครับ ผมเองคนนครนายกโดยกำเนิด เคยขึ้นไปท่า่ด่านตั้งแต่ยังไม่เปิดเขื่อน ไปต้นน้ำตีปลากระสูบ ตกปลากดหรือตีฝูงตามหน้าเขือนก็เยอะ ตอนหลังขึ้นไปไม่ค่อยเห็นฝูงขึ้นต้อนกัดลูกปลาแล้ว เมื่อก่อนหาแหล่งที่น้ำตกลงมาจากช่องเขาก็ตีอยู่แค่ตรงนั้นก็พอแล้ว เอากลับลงมาแค่พอกินกัน กลับบ้านคนละ2-3 ก็พอกินแล้ว เห็นหลายๆท่านเอามาลงกระทู้ยกปลากระสูบกันมาเป็นพวงรู้สึกใจหายเหมือนกันครับ  ยังไงขอให้ช่วยกันอนุรักษ์ดีกว่าครับ ก่อนที่จะเป็นเพียงแค่ความทรงจำ อยากให้ได้มีแหล่งตกปลาใกล้ๆกรุงเทพ ที่ได้มาพักผ่อน ตกปลากันนานๆครับ
กระทู้: 24
ความเห็น: 719
ล่าสุด: 22-11-2567
ตั้งแต่: 26-09-2551
granite(392 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 40: 23 มิ.ย. 57, 16:44
เรื่องแบบนี้พูดยากครับ จริงๆแล้วเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะร่วมกัน อนุรักษ์ไว้ ของแบบนี้ ทำกันแค่กลุ่มเล็กๆ ไม่สำเร็จแน่นอนครับ
กระทู้: 18
ความเห็น: 789
ล่าสุด: 22-11-2567
ตั้งแต่: 28-08-2550
CT12(87 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 41: 23 มิ.ย. 57, 17:17
เห็นด้วยครับ
แต่ว่าต่างคนต่างความคิด
ลองคิดดูว่า จะทำยังไง ให้ คุณตกปลาได้ เป็นพวงๆ อย่างงี้ตลอดไป
ไม่ใช่ตกได้แค่3-4ปี หลังจากนั้นปลาหมดหรือว่าปลาเหลือน้อยลงๆๆ

กระทู้: 68
ความเห็น: 2,862
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 06-01-2555
bully(910 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 42: 23 มิ.ย. 57, 17:19
ตามจริง อ่ะนะครับ ผมเองอยู่วงการตกปลา มาตั้งแต่ ปี 2526 ตกปลาทะเลตั้งแต่ บางสเร่ ค่าเรือ 1500 บาท
สัตหีบ รุ่น ไต๋ช้อย ยังมีชีวิตอยู่ นั่งเรือ สองสาม ชั่วโมง ได้ปลา เยอะแยะ
ตกปลาเขื่อนนี่จำได้เลย กว่าจะขับรถ ฝ่าถนนลูกรัง ไปถึงศรีสวัสดิ์ ก็มืดค่ำ สมัยนั้นหนทางลำบากมาก
การตกปลากระสูบ ทำได้ ง่ายๆ ลงไปเดินตามริมตลิ่ง ตอไม้ ที่อยู่ห่างออกไปสักยี่สิบเมตร เกือบทุกที่
มีปลากระสูบ คอยงับเหงื่อ ตกกัน สนุกมาก  นั่งเรือไปในเขื่อน ฝุงกระสูบ รวมกลุ่มไล่ล่า ลูกปลา ราวน้ำเดือด


ผ่านไปสองสามปี วงการตกปลา เติบโตขึ้น อย่างรวดเร็ว ผมพบว่า ปลากระสูบ น้อยลงไป น้อยลงจนกระทั่ง
หลังๆ นี่ไปเที่ยว ไม่เคยพบ มันขึ้น แบบ น้ำเดือด สักครั้ง

จนกระทั่งวันนึง ผมพาลูกชาย ไปเที่ยว เขื่อน ขุนด่าน ซึ่งเพิ่งเปิดให้ เข้าเที่ยวชม
และพบว่า มีเรือ รับจ้างพาตกปลา เราสองคนพ่อลูก ก็เลยลองจ้างเหมา ออกไป เขาพาเราไปจนถึง ต้นน้ำ

ไอ้ลูกหมุน ลูกชาย เหวี่ยงเหยื่อ เปะปะ ไปมา บนน้ำไหลเชี่ยว ผมแทบ ไม่เห็น ว่า มีครั้ง ไหน
มันลากเหยื่อ กลับมา ฟรีๆ ปลากระสุบ ชาร์จ ติดเบ็ด ทุกครั้ง ด้วยความเป้นเด็ก มันจับขังไว้ในแอ่งน้ำ
นับรวมกันได้ 5-60 ตัว ถ่ายรูปเสร้จ เราจึงปล่อย มันกลับคืน สายน้ำไป

และนับจากวันนั้น ถึงวันนี้ ปลากระสูบ เขื่อนขุนด่านเป็นที่ โจทย์ขาน มากมาย ในหมู่ นักตกปลา
ผมนั่งคิด เออนะ ขุนด่าน น่าจะเป็น เมกกะ แห่ง ปลากระสูบ
หรือมหานคร แห่ง ปลากระสูบ

ผมเปรย ๆ กับเพื่อน ๆ บางคน ที่เคยทำ หนังสือตกปลา มาด้วยกัน สมัยก่อน
ว่า น่าจะ ช่วยกัน ทำอะไร สักอย่าง ให้เขื่อน ขุนด่าน เป็น มหานคร แห่ง การตกปลา กระสูบ

เพื่อนบอก ก็ต้อง ตกแล้วปล่อย ปีสองปี ปลาก็มากมาย เต็มเขื่อน และ
ที่ขุนด่าน จะกลายเป้น แหล่ง ชุมนุม พบปะ พูดคุย ของนักตกปลา ทั่วสารทิศ
ใช่หรือไม่ 
เพื่อน ตอบว่าใช่  แล้ว ใครจะเริ่มล่ะ ถ้าใครเริ่ม ก็จะโดน ด่านะ เขาไม่เอาด้วย กลัวขายหนังสือไม่ได้

แต่ผม แบบว่าโลกสวย ไง ตกแล้วปล่อย .... ขอสักที่ได้มั๊ย  ที่ขุนด่าน

ผมว่า จะเป้นภาพ ที่สวยงาม เหลือเกิน หากที่ ขุนด่าน ในทุกสัปดาห์ ทุกวันหยุด
จะเป็น ที่ สำมะเหร เฮฮา ของเหล่า นักตกปลา ใช่หรือ ไม่ คนที่ริเริ่ม พูดคุยเรื่องนี้ ต้องถูกด่า

แต่ผมไม่สนใจ คนที่ด่าก็คือคน ที่ไม่เห็นด้วย ก็แค่นั้น
ชีวิตผม ไม่ได้ ขึ้นอยู่ กับความรู้สึก นึกคิด ของเขา
เมื่อมีคนที่เห็นด้วย ก็อาจจะมีคนที่ริเริ่ม  สืบสานเรื่องราว ต่อไป

จริงๆ ครับ ผมอยาก เห็น ขุนด่าน เป็นแบบนั้น จริง

กระทู้: 13
ความเห็น: 1,135
ล่าสุด: 15-08-2567
ตั้งแต่: 13-10-2551
sakchai.ta(257 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 43: 23 มิ.ย. 57, 17:23
เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่งครับ
กระทู้: 6
ความเห็น: 71
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 01-07-2548
ความเห็นที่ 44: 23 มิ.ย. 57, 17:42
กระทู้นี้ได้ใจจริงๆครับ
 
กระทู้: 11
ความเห็น: 702
ล่าสุด: 09-11-2566
ตั้งแต่: 19-03-2554
KANE007(244 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 45: 23 มิ.ย. 57, 17:48
ทำใจครับพูดกันยากครับ ของอย่างนี้อยู่ที่จิตสำนึกครับ
กระทู้: 0
ความเห็น: 80
ล่าสุด: 22-11-2567
ตั้งแต่: 21-07-2550
ความเห็นที่ 46: 23 มิ.ย. 57, 17:55
กระทู้: 16
ความเห็น: 713
ล่าสุด: 15-10-2567
ตั้งแต่: 28-05-2555
ความเห็นที่ 47: 23 มิ.ย. 57, 18:03
กระทู้: 0
ความเห็น: 851
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 25-07-2554
ความเห็นที่ 48: 23 มิ.ย. 57, 18:07
กระทู้: 27
ความเห็น: 35,920
ล่าสุด: 22-11-2567
ตั้งแต่: 08-08-2551
fishingjoke(1263 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 49: 23 มิ.ย. 57, 18:22
กลางวันเราไปตกปลากัน นักตกปลาหิ้วมาเป็นพวง ผมก็เคยขนาดแบกกลับไม่ไหว
กลางคืนบางเขื่อนสิ่งที่เกิดขึ้นน่ากลัวกว่าที่เราเคยเห็นมากนัก
แหตาขาย สารพัดเครืองมือประมงแอบเอาขึ้นไป ดูรอยจากองไฟ ทิ้งไว้ไห้ดู
พวกนี้ เอาไปมากว่านักตกปลา ตกได้รวมๆๆ กัน
กระทู้: 0
ความเห็น: 99
ล่าสุด: 24-06-2567
ตั้งแต่: 07-09-2556
ความเห็นที่ 50: 23 มิ.ย. 57, 18:31
หน้าที่:< 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 >
siamfishing.com © 2024
siamfishing.com/board/view.php?begin=25&tid=668056