สยามฟิชชิ่ง
หน้าแรก|กระดาน|รีวิว|ประมูล|ตลาด|เปิดท้าย
login | สมัครสมาชิก | วิธีสมัครสมาชิก | ลืมชื่อ/รหัส | login ไม่ได้? | 2 พ.ย. 67
อยากทราบเกี่ยวกับหมายปลาช่อนนาครับ: SiamFishing : Thailand Fishing Community
หน้าที่: 1
 กระดาน > น้ำจืด
ความเห็น: 9 - [19 ธ.ค. 57, 15:28] ดู: 1,930 - [2 พ.ย. 67, 03:24] โหวต: 4
อยากทราบเกี่ยวกับหมายปลาช่อนนาครับ
กระทู้: 7
ความเห็น: 84
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 14-08-2557
MaSTeRz(86 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ตั้งกระทู้: 2 พ.ย. 57, 13:09
อยากทราบเกี่ยวกับหมายปลาช่อนนาครับ
ข้อถามน้าๆที่มีประสบการณ์ที่อาจจะเคยได้ตัวหรือไม่ก็ได้ในหมาย นานํ้าท่วม ระดับนํ้าขนาดไหนครับถึงเป็นไปได้ว่าจะมีตัว ปลาช่อน
รบกวนด้วยครับ ขอบคุณมากๆครับ 
กระทู้: 51
ความเห็น: 520
ล่าสุด: 01-11-2567
ตั้งแต่: 13-06-2545
นวล(610 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 1: 2 พ.ย. 57, 18:15
นาน้ำท่วม / ระดับน้ำที่ว่าท่วมก็คงตั้งแต่ระดับคืบขึ้นไป เพราะปลาช่อนเป็นปลาที่หายใจด้วยปอด คงต้องขึ้นมาจิบน้ำหายใจทางปากด้วย ฉะนั้นระดับควรท่วมหลังปลาช่อนขึ้นไปครับน่าจะเหมาะสำหรับเลือกเป็นหมายตีปลาช่อน รกๆยิ่งดี ตามช่องว่างของแนวแถวต้นข้าว เป็นต้น

ตามปกติผมจะเลือกทำเลตรงแถบที่เป็นขอบนา ซึ่งจะมีแนวร่องน้ำรอบผืนนาหรือแหล่งตรงมุมผืนนา ซึ่งมักใช้เป็นจุดถ่ายเทน้ำเข้า-ออกผืนนา ซึ่งจะมีระดับน้ำที่ลึกกว่าหรืออาจจะเป็นแอ่งน้ำ
ฉะนั้นในเวลาที่มีการเปิดน้ำเข้า-ออกนา บริเวณนี้จะมีระดับอ๊อกซิเจนในน้ำมากที่สุด ปลาเล็กปลาน้อยจะมาออ รอรับอากาศและอาหารตามธรรมชาติ อย่างลูกกุ้ง ลูกปลา
ปลาช่อนซึ่งเป็นปลานักล่าก็เช่นกัน ก็จะมาดักรอเหยื่อ ณ จุดนี้ ซุ่มอยู่ตามขอบชายหญ้ารกๆหรือตามมุมชายตลิ่งเงียบๆ เฝ้ารอเหยื่อครับ
นักตกปลาช่อน จึงเลือกเล็งหมายแบบนี้หรือที่เรียกกันว่า "ตาม...หลอดนา" ครับ
ผมเองก็เช่นกัน ที่ได้ปลาช่อนนาตามหมายแบบนี้ แต่ก็ไม่มีอะไรที่แน่นอนหรือตายตัว ลองค้นหาและเฝ้าสังเกตุดูครับ
ห้วงเวลาที่เหมาะ น่าจะเป็นช่วงเช้าและใกล้พลบค่ำนะครับ ลองดู เป็นความคิดเห็นส่วนตัว ขอให้โชคดี.

กระทู้: 0
ความเห็น: 158
ล่าสุด: 03-07-2566
ตั้งแต่: 30-12-2555
ความเห็นที่ 2: 2 พ.ย. 57, 18:47
ตามนั้นครับเพิ่งช่วงเวลาหลังฝนตกครับ
กระทู้: 7
ความเห็น: 84
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 14-08-2557
MaSTeRz(86 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 3: 2 พ.ย. 57, 18:54
อ้างถึง: นวล posted: 2 พ.ย. 57, 18:15

นาน้ำท่วม / ระดับน้ำที่ว่าท่วมก็คงตั้งแต่ระดับคืบขึ้นไป เพราะปลาช่อนเป็นปลาที่หายใจด้วยปอด คงต้องขึ้นมาจิบน้ำหายใจทางปากด้วย ฉะนั้นระดับควรท่วมหลังปลาช่อนขึ้นไปครับน่าจะเหมาะสำหรับเลือกเป็นหมายตีปลาช่อน รกๆยิ่งดี ตามช่องว่างของแนวแถวต้นข้าว เป็นต้น

ตามปกติผมจะเลือกทำเลตรงแถบที่เป็นขอบนา ซึ่งจะมีแนวร่องน้ำรอบผืนนาหรือแหล่งตรงมุมผืนนา ซึ่งมักใช้เป็นจุดถ่ายเทน้ำเข้า-ออกผืนนา ซึ่งจะมีระดับน้ำที่ลึกกว่าหรืออาจจะเป็นแอ่งน้ำ
ฉะนั้นในเวลาที่มีการเปิดน้ำเข้า-ออกนา บริเวณนี้จะมีระดับอ๊อกซิเจนในน้ำมากที่สุด ปลาเล็กปลาน้อยจะมาออ รอรับอากาศและอาหารตามธรรมชาติ อย่างลูกกุ้ง ลูกปลา
ปลาช่อนซึ่งเป็นปลานักล่าก็เช่นกัน ก็จะมาดักรอเหยื่อ ณ จุดนี้ ซุ่มอยู่ตามขอบชายหญ้ารกๆหรือตามมุมชายตลิ่งเงียบๆ เฝ้ารอเหยื่อครับ
นักตกปลาช่อน จึงเลือกเล็งหมายแบบนี้หรือที่เรียกกันว่า "ตาม...หลอดนา" ครับ
ผมเองก็เช่นกัน ที่ได้ปลาช่อนนาตามหมายแบบนี้ แต่ก็ไม่มีอะไรที่แน่นอนหรือตายตัว ลองค้นหาและเฝ้าสังเกตุดูครับ
ห้วงเวลาที่เหมาะ น่าจะเป็นช่วงเช้าและใกล้พลบค่ำนะครับ ลองดู เป็นความคิดเห็นส่วนตัว ขอให้โชคดี.


ขอบคุณมากๆครับ กระจ่างเลย ไว้มีผลงานจะเอามาให้ชมครับผม ขอบคุณอีกครั้งครับ
กระทู้: 52
ความเห็น: 14,799
ล่าสุด: 02-11-2567
ตั้งแต่: 05-02-2555
TV3(1285 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 4: 3 พ.ย. 57, 07:57
+++ 1 ตามชมครับ 
กระทู้: 66
ความเห็น: 19,072
ล่าสุด: 01-11-2567
ตั้งแต่: 25-04-2545
feen(407 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 5: 3 พ.ย. 57, 11:52
กระทู้: 156
ความเห็น: 80,530
ล่าสุด: 01-11-2567
ตั้งแต่: 07-07-2545
BULINO(12950 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 6: 4 พ.ย. 57, 11:12
กระทู้: 42
ความเห็น: 12,020
ล่าสุด: 30-04-2567
ตั้งแต่: 29-07-2554
ความเห็นที่ 7: 5 พ.ย. 57, 00:12
เป็นกำลังใจให้นะ ขอรับ ขอให้เด็ดหัวเชลยใด้ดังหวัง ขอรับ
กระทู้: 38
ความเห็น: 9,005
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 29-05-2556
ความเห็นที่ 8: 5 พ.ย. 57, 19:11
ตามชมผลงานครับน้า
กระทู้: 47
ความเห็น: 6,593
ล่าสุด: 13-10-2567
ตั้งแต่: 07-06-2551
จิตร(2083 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 9: 19 ธ.ค. 57, 15:28
หน้าที่: 1
กรุณา ลงทะเบียน และ login ก่อนส่งความเห็นครับ
siamfishing.com © 2024
siamfishing.com/board/view.php?begin=0&tid=670230